0% found this document useful (0 votes)
5 views

Microsoft Word - G2 - Final - Answer

Microsoft Word - G2_Final_Answer

Uploaded by

Salinee Jang
Copyright
© © All Rights Reserved
Available Formats
Download as PDF, TXT or read online on Scribd
0% found this document useful (0 votes)
5 views

Microsoft Word - G2 - Final - Answer

Microsoft Word - G2_Final_Answer

Uploaded by

Salinee Jang
Copyright
© © All Rights Reserved
Available Formats
Download as PDF, TXT or read online on Scribd
You are on page 1/ 5

เฉลย TME 2554 Grade 2

เฉลยและอธิบายโจทย์การประเมินความสามารถทางคณิตศาสตร์ ประจาปี 2554 (TME)

ระดับ 2 (ประถมศึกษาปีที่ 2)

ข้อ 3. อายุของย่าน้อยกว่า 9 x 7 อยู่ 2 ดังนั้น 63 – 2 = 61


(ปี)

ข้อ 4. 1 ปี มี 12 เดือน ดังนั้น 1 ปี 8 เดือน คือ


12 + 8 = 20 (เดือน)

ข้อ 5. ถ้าแทนจานวนหนึ่งด้วย แล้วแสดงเป็น


ประโยคสัญลักษณ์จะได้เป็น - 13 = 9
ถ้า - 13 = 9 จะได้ 13 + 9 = 
ข้อ 1. ดังนั้น จาก 13 + 9 = 22 จานวนนั้น คือ 22

ดังนั้น 483 + 238 คือ 721


ข้อ 6. จานวนกล่องสี่เหลี่ยมที่วางซ้อนทับกันในตัวอย่าง
ข้อ 2. ดินสอยาวจาก ○ ก ถึง○ ข คือ 3 ช่อง ฉะนั้น 3 เท่า มีที่มองเห็น 5 กล่องและมีที่มองไม่เห็น 1 กล่อง จึง
ของสามช่อง คือ 3 x 3 เท่ากับความยาว 9 ช่อง ซึ่งก็คือ มีทั้งหมด 6 กล่อง
ความยาวจากหมายเลข ○ 1 ถึงหมายเลข ○
10 ○1 : 4 กล่อง,  : 8 กล่อง หรือมากกว่า 8 กล่อง
ดังนั้น ปลายอีกข้างหนึ่งของดินสอแท่งใหม่จะตรงกับ ○3 : 5 กล่อง, ○4 : 5 กล่อง, ○5 : 6 กล่อง
หมายเลข ○
10 ดังนั้น รูปที่ซ้อนทับกันโดยใช้กล่อง 6 กล่อง
คือ ข้อ ○
5
ข้อ 7. ถ้าคานวณแต่ละประโยคสัญลักษณ์จะได้ดังนี้ ข้อ 12. ถ้ามีกลุ่มละ 100 อยู่ 8 กลุ่ม จะได้ 800 และมี
สิ่งของเหลืออยู่อีก 9 ชิ้น ดังนั้น จะมีสิ่งของที่เป็น
จานวนสามหลักทั้งหมด 800 + 9 = 809 ชิ้น
ดังนั้น ประโยคสัญลักษณ์ที่มีผลลัพธ์มากกว่า 50
คือ 94 – 35, 19 + 54, 35 + 47 จึงมี 3 ข้อ ข้อ 13. จากตาราง จานวนที่อยู่ทางขวามือเพิ่มขึ้นทีละ 1
และจานวนที่อยู่ดา้ นล่างเพิ่มขึ้นทีละ 10

ข้อ 8. จาก ○ก x 6 6 คือ จานวนกลุ่ม โดยในหนึ่งกลุ่ม


จะมี 5 ลูก

จานวนในช่อง คือ จานวนที่มากกว่า 45 อยู่ 10


ดังนั้น จึงเป็น 55

ดังนั้น จานวนลูกแก้ว คือ 5 x 6 และจานวนที่แทน


ข้อ 14. เมื่อพลิกแต่ละรูปลงด้านล่างจะได้ดังต่อไปนี้
○ก คือ 5

ข้อ 9. ถ้าแทนจานวนรถที่ขับออกไปด้วย คัน จะได้


เป็น 45 - = 26
ถ้า 45 - = 26 จะได้ 45 – 26 = 
จาก 45 – 26 = 19 จานวนรถที่ขับออกไปคือ 19 คัน

ข้อ 10. ตัวเลขที่สามารถเติมลงใน คือ 1, 2, 3, 4, 5


จึงมีทั้งหมด 5 จานวน
หลังจากพลิกลงด้านล่างแล้ว ไม่ว่าจะเลื่อนไปทางไหน
ข้อ 11. ช่องว่างจาก 3 cm ถึง 8 cm คือ 5 cm โดยไม่มีการหมุนรูปจะสามารถซ้อนทับกับรูปเดิมได้
พอดี คือ ข้อ ○
2

ดังนั้น ความยาวของดินสอเป็น 5 เท่าของ 1 cm


ข้อ 15. ตัวอย่าง เมื่อคานวณ 32 – 8 – 5 ให้บวก 8 กับ 5 ข้อ 20. (การแก้โจทย์ 1)
แล้วลบออกจาก 32 จานวนที่นามาคูณเพิ่มขึ้นครั้งละ 2 ดังนี้
กรณีเดียวกันนี้ เมื่อคานวณ 63 – 9 – 6 ให้บวก 9 กับ
6 แล้วลบออกจาก 63 จะได้เป็น 63 – 15
ดังนั้น จานวนที่แทน □
ก คือ 15 ดังนั้น จากประโยคสัญลักษณ์ที่หก 4 x 11 = 44
จานวนที่ถูกต้องที่แทน คือ 44

ข้อ 16. นักเรียนชายมี 23 คน และนักเรียนหญิงมี 23 – 5 (การแก้โจทย์ 2)


จึงเป็น 18 คน ดังนั้น จานวนนักเรียนในห้อง
ซึงชอลมีทั้งหมด 23 + 18 = 41 คน
ดังนั้น จานวนที่ถูกต้องที่แทน คือ 20 + (8 x 3)
ข้อ 17. กรณีที่ผลรวมของจานวนที่มีสองหลักเป็น นั่นคือ 44
จานวนที่มีสามหลักจะต้องมีกรณีของการทดเลข
จากการคานวณสองจานวน ถ้ามีการทดเลข เลข ข้อ 21. ถ้าแสดงขั้นตอนการคานวณโดยแทนจานวน
หลักร้อยก็คือ 1 หนึ่งด้วย จะได้ดังนี้

ข้อ 18. จาก 9 + = 17 ประโยคสัญลักษณ์การลบที่ จากด้านบนถ้าคิด ก่อนจะทราบได้ว่า


สามารถสร้างได้คือ 17 – 9 = หรือ 17 - = 9  คือ 9 และจาก สามารถทราบได้
จากสองประโยคสัญลักษณ์นี้ ประโยคสัญลักษณ์ที่ ว่าจานวนนั้นคือ 3
เหมือนกับ = ก – ข คือ = 17 – 9 ดังนั้น 8 เท่าของจานวนนั้น คือ 3 x 8 นั่นคือ 24
ดังนัน้ จานวนที่แทน ก คือ 17

ข้อ 22. เนื่องจาก คือ 312 จาก


ข้อ 19. รูปสี่เหลี่ยมคือรูปที่ประกอบด้วยส่วนของ
คือ 624
เส้นตรงสี่เส้น รูปสี่เหลี่ยม คือ รูปที่ระบายสีต่อไปนี้
และจาก
แล้ว จึงเป็น 10
ดังนั้น จาก คือ 5

ดังนั้น มีรูปสี่เหลี่ยมทั้งหมด 6 รูป


ข้อ 23. ถ้าคิดกลับกันโดยเริ่มจาก 7 นาฬิกา 15 นาที
แล้วย้อนกลับไปอีก 2 ชั่วโมง 35 นาที จะได้ดังนี้
1 1 15 20
7 15 6 15 5 15 5 4 40
จากตารางด้านบน ส่วนที่ระบายสีคือส่วนที่ 5 เท่า
ของจานวนนี้น้อยกว่า 40 และส่วนที่ 8 เท่าของ
ดังนั้น คือ 4,  คือ 40 และ x 3 +  คือ 52 จานวนนี้มากกว่า 40 ดังนั้น จานวนที่สอดคล้องกับ
โดยหาได้จาก 4 x 3 + 40 = 52 ทั้งสามคาอธิบายคือ 6 และ 7 ถ้าบวกสองจานวนนี้
จะได้เป็น 6 + 7 = 13

ข้อ 24. จาก 515 = + 369 จานวนที่ถูกต้องใน คือ ข้อ 26. คานวณโดยลบจานวนที่ทั้ง และ
515 – 369 นั่นคือ 146 จานวนใน ที่สอดคล้องกับ มีเหมือนกันออก
515 > + 369 คือจานวนที่มีสามหลักที่น้อยกว่า
146 จานวนที่มีสามหลักที่น้อยกว่า 146 คือจานวน
ตั้งแต่ 100 จนถึง 145 จึงมี 46 จานวน
เพิ่มเติม วิธีการหาจานวนตั้งแต่ 100 จนถึง 145
เป็นดังนี้
จากด้านบน ถ้าลบจานวนที่เหมือนกันออก
จะเหลือ 1, 9 และ เหลือ , 3
ถ้าต้องการให้ผลคูณของ และ
จานวนจาก 1 ถึง 145 มีทั้งหมด 145 จานวน จานวน
เท่ากัน
ตั้งแต่ 100 จนถึง 145 สามารถหาโดยนาจานวนของ
จาก 1 x 9 =  x 3 ดังนั้น  คือ 3
จานวนจาก 1 ถึง 99 ไปลบออกจากจานวนของ
จานวนจาก 1 ถึง 145
ดังนั้น จานวนตั้งแต่ 100 จนถึง 145 คือ 145 – 99 = ข้อ 27. ลองหาโดยทาสัญลักษณ์ลงในแต่ละรูปต่อไปนี้
46 (จานวน)

ข้อ 25. จานวนที่สามารถเป็นไปได้จากการอธิบายใน ขนาด 1 รูป : ก, ข, ค, ง, จ, ฉ  6 รูป


ครั้งที่สามคือ 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 ถ้าสร้างเป็นตาราง ขนาด 2 รูป : ขค, ฉจ  2 รูป
เพื่อหาจานวนที่สอดคล้องกับคาอธิบายของครั้งที่ ขนาด 3 รูป : กฉจ, ฉจง, งขค, กขค  4 รูป
หนึ่งและสองจากจานวนเหล่านี้จะได้ดังนี้ ดังนั้น มีรูปสามเหลี่ยมขนาดใหญ่และเล็ก
จานวน 6 + 2 + 4 = 12 รูป
ข้อ 28. เมื่อ ก x ข คือ ก บวกกัน ข ครั้ง นั่นคือสามารถ ข้อ 30. (เลขหลักร้อย, เลขหลักหน่วย) ที่สอดคล้องกับ
แสดงเป็นการหาผลรวมได้ จากประโยคสัญลักษณ์ เงื่อนไขที่สองและสามคือ (1, 0), (2, 1), (3, 2) และ
ที่กาหนดให้ก็เช่นกัน สามารถคานวณเป็นการบวก ถ้าหาตัวเลขของหลักสิบตามลาดับจะได้เป็น 0, 2, 6
8 จานวนหลายครั้งได้ ดังนั้น จานวนที่มีสามหลักคือ 100, 221, 362 และ
8 x 12  8 บวกกัน 12 ครั้ง จากจานวนนี้จานวนที่มีค่าน้อยกว่า 220 ที่
8 x 15  8 บวกกัน 15 ครั้ง สอดคล้องกับเงื่อนไขที่สี่ คือ 100
4 x 4  8 บวกกัน 2 ครั้ง (จาก 4 x 4 = 16, 16 = 8
x 2)
2 x 8  8 บวกกัน 2 ครั้ง (จาก 2 x 8 = 8 x 2)
4 x 6  8 บวกกัน 3 ครั้ง (จาก 4 x 6 = 24,
24 = 8 x 3)
ดังนั้น ประโยคสัญลักษณ์ของโจทย์ คือ การบวก
กันของ 8 ทั้งหมด
12 + 15 + 2 + 2 + 3 = 34 (ครั้ง)
เพราะฉะนั้น จานวนที่แทน  คือ 34

ข้อ 29. จากรูปที่มองจากด้านบนสามารถทราบจานวน


ของกล่องสี่เหลี่ยมที่วางในชั้นที่ 1 ได้ว่าเป็น 4
กล่อง ถ้าดูรูปที่มองเห็นจากด้านหน้าสามารถทราบ
ได้ว่าเฉพาะตรงกลางเท่านั้นที่มีถึงชั้นที่ 3 ส่วนที่
เหลือมีเพียง 1 ชั้น ถ้าดูรูปที่มองเห็นจากด้านข้าง
ขวามือจะสามารถทราบได้ว่าตรงกลางมี 3 กล่อง
และด้านหลังมี 2 กล่อง

ดังนั้น จานวนกล่องสี่เหลี่ยมที่ใช้ คือ 7 กล่อง

You might also like