Basic Control Valves
Basic Control Valves
• Goals
– Getting to know more about:
• What a control valve is.
• How a control valve operates.
• Various kinds of control valves.
• Agenda
– Basic concepts and terms
– Various valve body patterns
– Comparison of actuators
– Valve operation characteristics as determined by
actuator
Definitions
• Pressure
– The ratio of hydraulic force acting perpendicularly on
unit area of surface
• Pressure Units
– atm., bar, m.w.h., psi, kpa
• Flow
– The amount of liquid supplied /consumed in a given
period of time. Flow units: m³/h, l/sec, gpm
• Kv
– Flow factor - Describes the flow rate in m³/h at 1 bar
pressure drop
Definitions
• Upstream pressure
– Inlet pressure
• Downstream pressure
– Outlet pressure
• Working pressure
– The available inlet pressure measured upstream of the
valve.
• Maximum pressure
– The rated pressure of the valve/system.
Control Valves in Agriculture System
Terminology
A1 = Seat area
A2 = Actuator effective area
P1 = Upstream pressure
P2 = Downstream
regulated pressure
P3 = Upper control A2
chamber pressure P3 A2
P3
P = P1-P2
Q = Flow
A1 P2 P2
P1 P1 A1
Q Q
Principle Equation of Control Valve Operation
Closed
Open
Modulating
Closed Valve
P3 = P1
A2
P2 = 0 A2 > A1
A1
P3 x A2 > P1 x A1
Q=0
Closed Valve
A2
F2 = A2 x P3
P1 P2
Answer: P3
Fully Open
P3 = 0
P3
A2
A1
P1 P2
P1 x A1 > P3(0) x A2
P2 = P1 - P
Q= working flow
Fully Open
for Opening
A1 F1 = A1 x P1
How Open is Open?Η
A = D / 4
2r = D
D / 4 = D x H
Thus for unrestricted
flow H = D1/4 H
2r H H
=
D
Control Valve Basic Patterns
• Y-Pattern
• Globe
• Saunders
• Angle
• In-Line
“Y” Oblique Pattern
700 200
“Y” Oblique
• Advantages
– Saves energy
• semi-straight flow
• Low head loss
– Higher cavitation resistance
– One piece actuator unit
• fast service
• advantage in vertical installation
• Disadvantages
• High level of skills required for assembling & maintaining
• Relatively expensive
Globe Pattern
200 900
Globe
• Advantages
– Easy to assemble & maintain
– Lower cost
• Disadvantages
– Loss of energy
• High head - loss
• Turbulent flow
Angle
• Advantages
– Easy to assemble & maintain
– Saves space and accessories
• Advantages
– Saves energy - almost
full bore
– Low cost
• Disadvantages
– Unbalanced diaphragm
• Tends to draw
• Short life
• Different types for
different pressures
– No linear indication to
valves position
– Cavitation jet to body and
diaphragm at low flow condition
In-line Valves
• Advantages
– Saves energy- straight flow
– Good performance at high differential pressure
– High cavitation resistance
– Protected
• Disadvantages
– Requires dismounting
from line for maintenance
– Sensitive to parts in fluid
– Requires up-stream filter
– High Level of skills
required for assembling
and maintaining
– Expensive – when
becomes commercial
In-line Valves
• Disadvantages (continuance)
– Several Dynamic seals
(stem+pistons)
• Requires high pressure to
start opening and
closing procedure
• Increases leakage risk
• Increases body and
seal erosion damage
– Monoblock
• low diameter, long and
internal tubes
– A small control chamber
• small control orifice causes
Increased reacting time at P drop
In-line Valves
• Disadvantages (continuance)
– Double chambered
only -
• Continuous draining
– Plastic construction
• relatively low strain
resistance
– Cumbersome,
complicate and
long installation
400 Series
• Balanced diaphragm
• Same diaphragm for the entire range of pressures
• Full support to the flexible part
• Sealing - resembles radial seal disc
• Dynamic guiding proportional to P
• Linear indication to
valve position
• Saves energy
- semi straight flow
Closing/Opening Speed Depends on:
• Double-chambered • Single-chambered
Single and Double-Chambered Actuators
Impossible Complicated
Double-Chamber Actuator Structure
• Relatively complicated
– Many parts
– Assembly must be exact
– High level of skills required for assembling &
maintaining
วาล์วควบคุม
Control Valves
วาล์วควบคุม Hydraulic Diaphragm Valve
ลิ้น valve
บ่า valve
น้ำเข้า น้ำออก
Pressure Reducing
Valve
วาล์วทำหน้าที่ปรับ ลด ความดันทาง
Downstream เพื่อให้ได้ค่าที่กำหนดไว้
และสม่ำเสมอ ณ ทางด้านออกของ valve
แม้ว่าจะเกิดการแปรปรวนขึ้น - ลงของ
อัตราการไหลและความดันทางขาเข้า
ของ valve
การประยุกต์ใช้งาน
ระบบการสูบจ่ายน้ำระยะไกล ในระบบท่อ
ส่งน้ำครอบคลุมพื้ นที่ทางภูมิประเทศต่าง
กัน จะต้องรักษาความสมดุลของความ
ดันของระบบที่มาจากแหล่งน้ำที่ต่างกัน
เพื่อสร้างความปลอดภัยของการทำงาน
ของระบบ
การทำงานของวาล์วลดความดัน
ส่วนประกอบของ Pilot valve
ตัวปรับความแข็งของ สปริงเพื่อเพิ่ม – ลด
Pressure น้ำด้านออก
แรงดันน้ำด้านขาเข้า แรงดันน้ำด้านขาออก
ของ Main valve ของ Main valve
บ่า Valve
ลิ้น Valve ( ควบคุมการ
เคลื่อนที่ของ Diaphragm )
แรงดันน้ำดัน
Diaphragm ขึ้น - ลง
Needle valve ( ตัวหน่วงการเปิ ด – ปิ ด main valve )
Down (up)
Up (down)
Pressure Sustaining/Pressure Relief valve
วาล์วทำหน้าที่รักษาความดันน้ำขาเข้า (upstream)
ให้คงที่และใกล้เคียงกับค่าจำกัดที่ตั้งไว้
การประยุกต์ใช้งาน
• กรณีระบายความดัน (pressure relief) วาล์วจะ
เปิ ดเร็วเพื่อป้ องกันไม่ให้ความดันของระบบสูง
เกินกว่าค่าที่ระบบท่อจะรับได้ แต่จะปิ ดลงช้าๆ
ป้ องกันปั ญหาคลื่นความดัน (surge)
• กรณีต้องการพยุงความดัน
(pressure sustaining)
• เมื่อวาล์วรุ่น 730 ถูกติดตั้งอยู่ระหว่างกลางของ
ท่อส่งน้ำ ซึ่งควบคุมความดันน้ำตอนบน (ทาง
เข้า) และตอนล่าง(ทางออก)ไปยังพื้ นที่ต่ำกว่า
วาล์วจะทำหน้าที่รักษาความดันน้ำตอนบนให้มีค่า
ตามที่กำหนดไว้ ความดันส่วนเกินจะถูกปลด
ปล่อยออกไปยังพื้ นที่ต่ำกว่า
Pressure Sustaining valve
Pump Control Valve : การทำงาน Model 743
1. เมื่อเริ่มเดินเครื่องสูบน้ำ โซลีนอยด์วาล์ว 4
จะระบายน้ำออกจากฝาวาล์ว และวาล์วจะ
เริ่มเปิ ดตัวเมื่อความดันของเครื่องสูบน้ำ
เพิ่มขึ้นถึงค่าความดันที่ตั้งไว้ที่ตัวไพล็อต
วาล์ว 5
2. เมื่อระบบสั่งให้หยุด เครื่องสูบน้ำจะไม่
หยุดทำงาน แต่วาล์วจะถูกสั่งให้ปิ ดตัว
และเมื่อปิ ดสนิท หัวก้านวาล์ว 6 จะกด
แขนของลิมิตสวิทซ์ 7 และส่งสัญญาณ
เพื่อหยุดการทำงานของเครื่องสูบน้ำ
3. เมื่อเกิดไฟฟ้ าดับ วาล์วจะปิ ดตัวเองด้วย
ความดันน้ำ ทำหน้าที่เป็ นวาล์วกันกลับ
ในตัว
Pump Control Valve
ไพล็อตวาล์วพยุงความดัน
หัวก้านวาล์ว โซลีนอยด์วาล์ว
ลิมิตสวิทซ์
วาล์วกันกลับ
วาล์วกันกลับ
ตัวกรอง
บอล์ลวาล์ว บอล์ลวาล์ว
ตัววาล์วหลัก
Anticipating Control Valve( Surge Control valve)
1. วาล์วทำหน้าที่รักษาอัตราการไหลให้คงที่ตาม
ค่าที่กำหนดไว้ โดยไม่คำนึงถึงการแปรเปลี่ยน
ของความดันของโครงข่ายทั้งหมด หรือความ
ต้องการที่แตกต่างกัน วิธีการตรวจวัดอัตราการ
ไหลกระทำได้หลายวิธี อาทิ
• วัดค่าความแตกต่างของความดัน ทั้งด้านเข้า
และด้านออกของวาล์ว โดยใช้เส้นท่อดักตรงรู
ผ่านเล็กๆ ชอง Orifice เพื่อใช้ในการควบคุม
ปริมาณน้ำที่เข้าและออกจากหัวขับ
Flow Control Valve
Model 772-U
Altitude Valve
วาล์วทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำในถังเก็บ
เพื่อป้ องกันการไหลล้นโดยไม่ต้องใช้
อุปกรณ์ภายนอก เช่น ลูกลอย โดยปกติ
วาล์วจะเปิ ดเต็มพื้ นที่ให้น้ำไหลเข้า แต่
เมื่อได้รับคำสั่งสัญญาณปิ ดจากกลไกนำ
ทรงสูงชนิด 3 ทาง (altitude pilot) วาล์ว
หลักก็จะถูกปิ ดลง กรณีเลือกใช้กลไกนำ
ทรงสูงชนิด 2 ทาง ท่านสามารถเติมน้ำ
และระบายน้ำออกจากถังเก็บผ่านท่อเส้น
เดียวกัน และวาล์วจะเปิ ดให้น้ำไหลเข้า
อีกครั้ง เมื่อน้ำมีระดับต่ำกว่าค่าที่กำหนด
ไว้ล่วงหน้า
Altitude Valve
Modulating Float Valve : ส่วนประกอบของวาล์ว
ชุดลูกลอย วาล์วเข็ม
ตัวกรอง
บอล์ลวาล์ว
ตัววาล์วหลัก
การติดตั้งในถังน้ำใส
ชุด
ลูกลอย
ท่อสัญญาณ GS 1”
ตัววาล์วหลัก
Modulating Float Valve
Operation
ระดับน้ำเต็มถัง
ระดับน้ำลดลง
ลูกลอยยกขึ้น
ลูกลอยตกลง
วาล์วปิ ด
วาล์วเปิ ด
Modulating Float Valve
Non – Modulating Float Valve : ส่วนประกอบ
ชุดลูกลอย
ตัวกรอง
บอล์ลวาล์ว
ตัววาล์วหลัก
Non – Modulating Float Valve
การติดตั้งในถังน้ำใส
ชุด
ลูกลอย
ท่อสัญญาณ GS 1”
ตัววาล์วหลัก
Non – Modulating Float Valve
Operation
1. ระดับน้ำถึงจุดสูงสุด ลูกลอย
ยกตัวขึ้นเติมน้ำเข้าฝาวาล์ว
ด้านบนทำให้วาล์วปิ ด
2. ระดับน้ำถึงจุดต่ำสุด ลูกลอย
ตกลงเติมน้ำเข้าฝาวาล์ว
ด้านล่างทำให้วาล์วเปิ ด
Altitude Valve สำหรับหอถังสูง : ส่วนประกอบ
ไพล็อตวาล์ว
ตัวกรอง
บอล์ลวาล์ว
ตัววาล์ว
หลัก
การติดตั้ง
ท่อสัญญาณ GS 1”
ท่อทางขึ้นหอถังสูง ตัววาล์วหลัก