SlideShare a Scribd company logo
Chapter 2
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการ
                     ดําเนินธุรกิจ
                     การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในธุรกิจ
-   ความสําคัญของคอมพิวเตอร์ กบธุรกิจในปั จจุบน
                                  ั           ั
-   คอมพิวเตอร์ กบการจัดซื ้อ/จัดจ้ าง
                     ั
-   คอมพิวเตอร์ กบการผลิต
                       ั
-   คอมพิวเตอร์ กบการบัญชี / การเงิน
                         ั
-   คอมพิวเตอร์ กบการขายและตลาด
                 ั
-   คอมพิวเตอร์ กบการขนส่ง
                   ั

-   คอมพิวเตอร์ กบการคลังสินค้ า คอมพิวเตอร์ กบการบริ หารงานบุคคล
                 ั                            ั
-   ระบบสํานักงานอัตโนมัติ
-   CRM

ทฤษฏี
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ต่อการดําเนินธุรกิจยุคปัจจุบน
                                                                          ั
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ของธุรกิจ
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการบริหารจัดการและการตลาดแบบใหม่ ๆ ในยุคปัจจุบัน

ปฏิบัติ
ใช้โปรแกรมสําเร็จรูปออกแบบสื่อทางธุรกิจได้
สามารถเข้าใจว่าปัจจุบันองค์กรต่าง ๆ นําเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างไร เช่น การใช้อินเตอร์เน็ต และเว็บประเภท
Social Network เพื่อการดําเนินธุรกิจ
สามารถออกแบบหรือจัดทําเว็บไซต์สําเร็จรูปอย่างง่ายได้
หัวข้อเนื้อหา
   ธุรกิจแบบดังเดิมกับธุรกิจยุคอิเล็กทรอนิกส์
               ้
   คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการจัดซือ – จัดจ้ าง
                                     ้
   คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการด้ านการผลิตและอุตสาหกรรม
   คอมพิวเตอร์ กับงานทางด้ านการตลาด
   คอมพิวเตอร์ กับการขาย
   คอมพิวเตอร์ กับงานทางด้ านบัญชี
   คอมพิวเตอร์ กับการขนส่ ง
   คอมพิวเตอร์ กับการจัดการคลังสินค้ า
   คอมพิวเตอร์ กับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
   การใช้ คอมพิวเตอร์ ในสํานักงาน
   คอมพิวเตอร์ กับระบบการบริหารลูกค้ าสัมพันธ์ (CRM)
เปรียบเทียบลักษณะของธุรกิจยุคดั้งเดิมและธุรกิจยุคอิเล็กทรอนิกส์


 มีขนาดเล็กจนถึงปานกลาง แต่เดิม   การทํางานเป็นแบบมืออาชีพ
  มักเป็นธุรกิจในครัวเรือน          กล่าวคือจะปฏิบัติงานโดยผู้ที่มี
  เช่น SMEs                         ความรู้และความชํานาญ
 เน้นการใช้แรงงานมากกว่าใช้       ใช้เทคโนโลยีช้นสูงเข้ามาช่วยใน
                                                   ั
  เทคโนโลยี การประเมินจะ            การดําเนินการ
  พิจารณาจาก พื้นที่ คน, และ       ใช้รูปแบบการสื่อสารที่รวดเร็ว ส่ง
  วัตถุดิบ                          ข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทันทีโดยไม่
 ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารพื้นฐาน     มีการหยุดพัก จึงสามารถทํางาน
  คือ จดหมาย, โทรสาร, และ           ต่อเนื่องได้ทันที
  โทรศัพท์
เปรียบเทียบลักษณะของธุรกิจยุคดั้งเดิมและธุรกิจยุคอิเล็กทรอนิกส์       (ต่อ)

                                     ใช้ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ในการ
 การบันทึกข้อมูลจะใช้วิธีการจดจํา
  และบันทึกลงสมุด                     จัดเก็บข้อมูล
                                     บริหารงานด้วยข้อมูลข่าวสาร การ
 ใช้ระบบเส้นสายในการ
  บริหารงาน การตัดสินใจมัก            ตัดสินใจจะพิจารณาจากข้อมูลเป็น
  พิจารณาจากแรงสังหรณ์มากกว่า         หลัก
  ข้อมูล                             ใช้ ICT ในการกําหนดยุทธศาสตร์

 ขาดยุทธศาสตร์เชิงรุก
                                      เชิงรุก โดยเน้นนวัตกรรมที่นําหน้า
                                      คู่แข่ง และมีการมองสถานการณ์
                                      ในอนาคต
ธุรกรรมของภาคธุรกิจในยุคอิเล็กทรอนิกส์
  ธนาคาร เช่น ATM, E-Banking
  โรงแรม เช่น การจองห้องพัก, การจัดเก็บข้อมูลลูกค้าเพื่อการ
   ให้บริการในอนาคต
  บริษัทอุตสาหกรรม เช่น ออกแบบผลิตภัณฑ์, คํานวณความ
   ต้องการวัตถุดิบและชิ้นส่วน
  ร้านค้าขนาดเล็ก เช่น การตัดรายการสินค้าที่ขายแล้วออก
   จาก Inventory, การทําบัญชี
  บริษัทขายสินค้าทางอินเทอร์เน็ต เช่น จัดทําเว็บเพื่อโฆษณา
   สินค้าทางอินเทอร์เน็ต,ร่วมกับธนาคารรับการชําระเงินผ่าน
   อินเทอร์เน็ต
ตัวอย่างธุรกิจที่ใช้คอมพิวเตอร์และการเชื่อมโยงธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์




(http://maps.google.com)
งานด้านต่าง ๆ ที่นําระบบคอมพิวเตอร์มาใช้
  คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการจัดซือ – จัดจ้ าง
                                  ้
  คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการด้ านการผลิตและอุตสาหกรรม
  คอมพิวเตอร์ กับงานทางด้ านการตลาด
  คอมพิวเตอร์ กับการขาย
  คอมพิวเตอร์ กับงานทางด้ านบัญชี
  คอมพิวเตอร์ กับการขนส่ ง
  คอมพิวเตอร์ กับการจัดการคลังสินค้ า
  คอมพิวเตอร์ กับการบริ หารทรั พยากรมนุษย์
  การใช้ คอมพิวเตอร์ ในสํานักงาน
  คอมพิวเตอร์ กับระบบการบริ หารลูกค้ าสัมพันธ์ (CRM)
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการจัดซื้อ - จัดจ้าง
            ั
   การหาสินค้ าหรื อบริการ ผ่านระบบ E-Catalogue เช่น คือการเลือกสินค้ าหรื อบริ การจาก
    เว็บไซต์ผ้ ให้ บริการขายสินค้ าต่าง ๆ เช่น www.officemate.co.th หรื อ
               ู
    www.officedepot.co.th เป็ นต้ น
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการจัดซื้อ - จัดจ้าง
            ั
   การใช้ ระบบ e-Procurement คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการให้ บริ การที่
    เกี่ยวข้ องในกิจกรรมการจัดซื ้อจัดจ้ างของภาครัฐ เช่น การตกลงราคา การสอบราคา การ
    ประกวดราคา และการจัดซื ้อรวมแบบออนไลน์ รวมถึงการลงทะเบียนบริ ษัทผู้ค้า




       ตัวอย่างเว็บไซต์ ระบบการจัดซื ้อจัดจ้ างภาครัฐ (www.gprocurement.go.th)
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการจัดซื้อ - จัดจ้าง
            ั
   ระบบ RFQ (Request for Quotation) คือการเสนอขอราคาขายสินค้ าจาก
    ผู้ขายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้ซื ้อจะทําการเลือกสินค้ าจาก Catalog ที่อยูใน
                                                                                 ่
    ฐานข้ อมูล และทําการส่ง RFQ ไปยังผู้ขาย
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม
            ั
 กระบวนการด้ านการผลิตและอุตสาหกรรมได้ มีการนํา
 คอมพิวเตอร์ มาใช้ กนอย่างแพร่หลาย เนื่องจากอุตสาหกรรมการ
                    ั
 ผลิต นอกจากจะต้ องผลิตงานที่มีคณภาพ แล้ วยังต้ องผลิตอย่าง
                                    ุ
 รวดเร็ วให้ ทนกับการแข่งขันอีกด้ วย คอมพิวเตอร์ จงมีบทบาท
              ั                                   ึ
 สําคัญในงานอุตสาหกรรม จนอาจกล่าวได้ วาอุตสาหกรรมบาง
                                            ่
 ประเภทจําเป็ นต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ ไม่สามารถดําเนินการ
 อุตสาหกรรมโดยไม่มีคอมพิวเตอร์ ได้
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม
            ั
 การอุตสาหกรรมและการวิศวกรรมที่หลากหลาย ดังต่อไปนี ้
  การวางแผนออกแบบ วิเคราะห์แบบ
  การเขียนแบบเพื่อการผลิต
  การควบคุมเครื่ องจักรกลการผลิต
  การวางแผนจัดการวัสดุครุ ภณฑ์ในการผลิต
                             ั
  การสร้ าง และ การจัดการฐานข้ อมูลบุคลากร
  การสร้ าง และ การจัดการฐานข้ อมูลการผลิต
  การทําบัญชีและวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม
            ั
 การ นําระบบคอมพิวเตอร์ มาช่วยในงานอุตสาหกรรมมีหลาย
  ระบบอย่างเช่น
 MES (Manufacturing Execution system )
 CAD (Computer aid design )
 CAM (Computer aid manufacturing )
 CAE ( Computer aid Engineering)
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม
            ั
   MES : Manufacturing Execution System
   เป็ นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ การวางแผนการ การควบคุมติดตามการผลิตสินค้ า การ
    ควบคุมคลังวัตถุดิบ ตารางการผลิต การควบคุมขบวนการผลิต การกําหนดราคาต้ นทุน
    สินค้ า การตรวจสอบคุณภาพสินค้ า การจัดส่งและการกระจายสินค้ า
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม
            ั
   CAD :Computer Aided Design and Drafting คือ
    การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยออกแบบและเขียนแบบและเกี่ยวข้ องกับงาน
    วิศวกรรม
       พัฒนาแบบจําลองชิ ้นส่วนจากแบบที่ได้ รับ
       ประเมินการแก้ ไขข้ อมูล CAD ของชิ ้นส่วนที่ออกแบบบน
        ระบบ CAD เพื่อให้ ยอมรับได้ ในการผลิต
       เปลี่ยนแปลงชิ ้นส่วนที่ออกแบบเพื่อให้ สามารถผลิตได้ สิงนี ้อาจรวมถึงการเพิ่ม
                                                              ่
        มุมสอบ (Draft angle) หรื อพัฒนาแบบจําลอง ของชิ ้นส่วนที่แตกต่างกัน
        ออกไป สําหรับขันตอนที่แตกต่างกันในกระบวนการผลิตที่ซบซ้ อน
                         ้                                         ั
       ออกแบบอุปกรณ์จบยึด โพรงแบบ (Model cavity) ฐานแม่พมพ์
                           ั                                            ิ
        (Model base) หรื อ เครื่ องมืออื่น ๆ
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม
            ั
   CAM: Computer
    Aided Manufacturing การ
    ใช้ คอมพิวเตอร์ ชวยในการผลิต ซึงจะใช้ ซอร์ ฟแวร์ เพื่อ
                     ่               ่
    ควบคุมเครื่ องจักร ให้ สามารถสร้ างชิ ้นงานได้ ตามที่ได้
    ออกแบบไว้ แล้ ว

   CAE : Computer
    Aided Engineeringการใช้ คอมพิวเตอร์
    ช่วยในงานวิศวกรรม หมายถึง การบอกถึง
    ความสามารถของสิงที่ออกแบบว่า สามารถทํางานได้
                        ่
    ตามที่อยากให้ เป็ นหรื อไม่ ซึงสิงที่เป็ นตัวบ่งชี ้
                                  ่ ่
คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม
            ั
1.      จะต้ องลดหรื อเพิ่มผลผลิต เพื่อให้ เหมาะสมกับความต้ องการจริ ง
     ของตลาดให้ มากที่สดและทันกับเวลามากที่สด
                               ุ                   ุ
2.    ต้ องการเพิ่มความสามารถในการผลิต ให้ กบส่วนงานการผลิต
                                                 ั
3.   เพื่อสามารถลดปริ มาณผลิตภัณฑ์ที่ต้องทิ ้ง เนื่องจากไม่ได้ คณภาพ
                                                                ุ
4.   เพื่อให้ สามารถสรุปยอดการผลิตในแต่ละช่วงเวลา ให้ ไวและละเอียด
5.   เพื่อให้ สามารถตรวจสอบประสิทธิภาพของแต่สวนงานการผลิตโดย
                                                     ่
     อิงถึงข้ อมูลที่แท้ จริ ง
6.   เพื่อสามารถวางแผนงานที่เหมาะสมที่สด      ุ
7.   เพื่อให้ ควบคุมต้ นทุนได้ อย่างแม่นยําและสะดวก
คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด
            ั
   ปั จจุบนได้ มีการนําเอาระบบคอมพิวเตอร์
           ั
    มาประยุกต์ใช้ ในงานด้ านการตลาดอย่าง
    มากมายตังแต่การเก็บรวบรวมข้ อมูล
                ้
    พฤติกรรมผู้บริ โภค การเก็บข้ อมูลการ
    ขาย การวิเคราะห์ข้อมูลด้ านการตลาด
    การออกแบบการโฆษณาประชาสัมพันธ์
    สินค้ า และการโฆษณาประชาสัมพันธ์
    ตลอดจนการสื่อสารให้ ลกค้ าได้ รับทราบ
                              ู
    เกี่ยวกับสินค้ าหรื อองค์กรธุรกิจ
คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด
            ั
   การเสนอขายสินค้ าผ่ านระบบ E-Commerce
คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด
            ั
   การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)
     Banner Marketing รู ปแบบดังเดิมที่สดในการโฆษณาบนอินเตอร์ เน็ต ซึงอาจอยูใน
                                                ้          ุ                       ่ ่
      รูปของภาพ หรื อ ข้ อความ ข้ อดีของวิธีการนี ้คือ ง่าย และ สะดวก ในการนําเสนอ
คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด
            ั
   การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)
     Search Engine Marketing (SEM) คือ การทําการตลาดผ่านเสริ จเอ็นจิ ้น
      โดยใช้ เครื่ องมือบนอินเตอร์ เน็ตโดยมีเว็บไซต์เป็ นเครื่ องมือพื ้นฐานในการทําการตลาด Search
      Engine Marketing นัน          ้
คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด
            ั
   การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)
     Search Engine Marketing (SEM)
         เครื่ องมือสําหรับการทํา Search Engine Marketing นัน จะใช้้
          เครื่ องมือค้ นหาทางอินเทอร์ เน็ต (Search Engine) ที่เด่นๆ นันก็ได้ แก่
                                                                       ้
          Google,Yahoo และ Live (MSN) โดยการทํา SEM นี ้ แบ่ง
          ออกเป็ น 2 ส่วนคือ
       การทํา Search       Engine Optimization (SEO) คือ
          การปรับแต่งหน้ าเว็บไซต์เองโดยอาจจะมีการปรับโครงสร้ างภายใน
          code, โครงสร้ าง link เพื่อให้ เว็บไซต์อยูอนดับต้ น ๆ ของหน้ าที่
                                                   ่ ั
          ค้ นหา
คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด
            ั
   การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)
     Search Engine Marketing (SEM)
       2. Pay per click (PPC) คือการทําให้ เว็บไซต์ของเราขึ ้นอันดับ ง่ายๆ ด้ วยการ
       จ่ายเงินค่าโฆษณาให้ กบ Search Engine โดยค่าใช้ จายนัน จะมีการจ่ายเป็ นต่อคลิก
                                ั                               ่ ้
       คือ เมื่อใดก็ตามที่มีคนเข้ ามาคนค้ นหาแล้ วโฆษณาเว็บไซต์ของเราปรากฏขึ ้นบนฝั่ ง ขวามือ
       เราจะยังคงไม่เสียค่าโฆษณา จนกว่ามีผ้ ที่ค้นหาสนใจสินค้ าหรื อบริ การของเรา แล้ วคลิก
                                              ู
       โฆษณาเพื่อเข้ าเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราแล้ วล่ะก็ เราจึงจะเสียค่าใช้ จาย ต่อการคลิกของ
                                                                           ่
       ลูกค้ าแต่ละคน
       Pay per click นันมีชื่อเรี ยกกันหลากหลายชื่อเลยทีเดียว หากใครไปได้ ยินชื่อที่เรี ยกว่า
                              ้
       Keywords Advertising, Cost Per Click (CPC), Sponsored
       Link, Paid Placement และจะมีช่ือเรี ยกไปตาม Search Engine ต่างๆ ด้ วย
       เช่น Google ก็จะเรี ยกว่า “Google AdWords” ส่วน Yahoo ก็จะเรี ยกว่า
       “Y!SM Yahoo Search Marketing” เป็ นต้ น
คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด
            ั
   การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)
    
คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด
            ั
   การตลาดบนสังคมออนไลน์ (Social Networking Marketing)
       สังคมออนไลน์ (Social Network) คือสังคมที่ผ้ คนสามารถทําู
        ความรู้จก ร่วมแบ่งปั นสิงที่สนใจ และสามารถเชื่อมโยงกันได้ ในทิศทางใด
                  ั             ่
        ทิศทางหนึง ในโลกอินเตอร์ เน็ต โดยอาศัยรูปแบบการบริ การ เรี ยกว่า “บริ การ
                    ่
        เครื อข่ายสังคม หรื อ Social Networking Service (SNS)”
    
โปรดติดตามตอนต่อไป

More Related Content

Similar to Chapter2 part1 (20)

PPT
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
thanapat yeekhaday
 
PPT
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
thanapat yeekhaday
 
PDF
Computer application4 business_presentation
thanapat yeekhaday
 
PPTX
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน 4100103 -1
Teerapat Piyaket
 
PPTX
งานกลุ่มคอมพิวเตอร์ เรื่องบทบาทในด้านต่างๆของคอมพิวเตอร์
gafafaga fagagafa
 
PDF
คอม 1111111111111111111
ชลธิชา รำพึงวรณ์
 
PPT
บทที่ 1
Rainny Wongsamut
 
PDF
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Thanawut Rattanadon
 
PDF
Introduction to computer
Pises Tantimala
 
PDF
Gor7
LiftzaNg Kab
 
PDF
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Krunee Thitthamon
 
PPT
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
taenmai
 
PPT
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
taenmai
 
PDF
Study Building Blog
thanapat yeekhaday
 
PDF
Lesson1
sudjai007
 
PDF
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
PDF
งานบทท 2
พรนิภา ม้าจีน
 
PDF
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
นพ มีวงศ์ธรรม
 
PPTX
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
Chayanee Khruewan
 
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
thanapat yeekhaday
 
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
thanapat yeekhaday
 
Computer application4 business_presentation
thanapat yeekhaday
 
เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน 4100103 -1
Teerapat Piyaket
 
งานกลุ่มคอมพิวเตอร์ เรื่องบทบาทในด้านต่างๆของคอมพิวเตอร์
gafafaga fagagafa
 
คอม 1111111111111111111
ชลธิชา รำพึงวรณ์
 
บทที่ 1
Rainny Wongsamut
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Thanawut Rattanadon
 
Introduction to computer
Pises Tantimala
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Krunee Thitthamon
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
taenmai
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
taenmai
 
Study Building Blog
thanapat yeekhaday
 
Lesson1
sudjai007
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
นพ มีวงศ์ธรรม
 
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
Chayanee Khruewan
 

More from thanapat yeekhaday (20)

PDF
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
thanapat yeekhaday
 
PDF
Chapter2 literaturereview
thanapat yeekhaday
 
PDF
Visio project process
thanapat yeekhaday
 
PDF
Introduction bizcomproject1
thanapat yeekhaday
 
PDF
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
thanapat yeekhaday
 
PDF
กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)
thanapat yeekhaday
 
PDF
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
thanapat yeekhaday
 
PDF
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
thanapat yeekhaday
 
PDF
Chapter3 typeof informationsystem
thanapat yeekhaday
 
PDF
Chapter1 introduction2 business-full
thanapat yeekhaday
 
PDF
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
thanapat yeekhaday
 
PDF
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
thanapat yeekhaday
 
PDF
Chapter1 introduction2 business
thanapat yeekhaday
 
PDF
Web20 forbusiness2
thanapat yeekhaday
 
PDF
Web20 forbusiness
thanapat yeekhaday
 
PDF
Presentation e learning by thanapat
thanapat yeekhaday
 
PPT
2 Intro2 Computer
thanapat yeekhaday
 
PPT
Introduction to Computer
thanapat yeekhaday
 
PPT
Application of Computer in Government
thanapat yeekhaday
 
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
thanapat yeekhaday
 
Chapter2 literaturereview
thanapat yeekhaday
 
Visio project process
thanapat yeekhaday
 
Introduction bizcomproject1
thanapat yeekhaday
 
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
thanapat yeekhaday
 
กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)
thanapat yeekhaday
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
thanapat yeekhaday
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
thanapat yeekhaday
 
Chapter3 typeof informationsystem
thanapat yeekhaday
 
Chapter1 introduction2 business-full
thanapat yeekhaday
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
thanapat yeekhaday
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
thanapat yeekhaday
 
Chapter1 introduction2 business
thanapat yeekhaday
 
Web20 forbusiness2
thanapat yeekhaday
 
Web20 forbusiness
thanapat yeekhaday
 
Presentation e learning by thanapat
thanapat yeekhaday
 
2 Intro2 Computer
thanapat yeekhaday
 
Introduction to Computer
thanapat yeekhaday
 
Application of Computer in Government
thanapat yeekhaday
 
Ad

Chapter2 part1

  • 1. Chapter 2 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการ ดําเนินธุรกิจ การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์
  • 2. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในธุรกิจ - ความสําคัญของคอมพิวเตอร์ กบธุรกิจในปั จจุบน ั ั - คอมพิวเตอร์ กบการจัดซื ้อ/จัดจ้ าง ั - คอมพิวเตอร์ กบการผลิต ั - คอมพิวเตอร์ กบการบัญชี / การเงิน ั - คอมพิวเตอร์ กบการขายและตลาด ั - คอมพิวเตอร์ กบการขนส่ง ั - คอมพิวเตอร์ กบการคลังสินค้ า คอมพิวเตอร์ กบการบริ หารงานบุคคล ั ั - ระบบสํานักงานอัตโนมัติ - CRM ทฤษฏี 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ต่อการดําเนินธุรกิจยุคปัจจุบน ั 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ของธุรกิจ 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการบริหารจัดการและการตลาดแบบใหม่ ๆ ในยุคปัจจุบัน ปฏิบัติ ใช้โปรแกรมสําเร็จรูปออกแบบสื่อทางธุรกิจได้ สามารถเข้าใจว่าปัจจุบันองค์กรต่าง ๆ นําเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างไร เช่น การใช้อินเตอร์เน็ต และเว็บประเภท Social Network เพื่อการดําเนินธุรกิจ สามารถออกแบบหรือจัดทําเว็บไซต์สําเร็จรูปอย่างง่ายได้
  • 3. หัวข้อเนื้อหา  ธุรกิจแบบดังเดิมกับธุรกิจยุคอิเล็กทรอนิกส์ ้  คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการจัดซือ – จัดจ้ าง ้  คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการด้ านการผลิตและอุตสาหกรรม  คอมพิวเตอร์ กับงานทางด้ านการตลาด  คอมพิวเตอร์ กับการขาย  คอมพิวเตอร์ กับงานทางด้ านบัญชี  คอมพิวเตอร์ กับการขนส่ ง  คอมพิวเตอร์ กับการจัดการคลังสินค้ า  คอมพิวเตอร์ กับการบริหารทรัพยากรมนุษย์  การใช้ คอมพิวเตอร์ ในสํานักงาน  คอมพิวเตอร์ กับระบบการบริหารลูกค้ าสัมพันธ์ (CRM)
  • 4. เปรียบเทียบลักษณะของธุรกิจยุคดั้งเดิมและธุรกิจยุคอิเล็กทรอนิกส์  มีขนาดเล็กจนถึงปานกลาง แต่เดิม การทํางานเป็นแบบมืออาชีพ มักเป็นธุรกิจในครัวเรือน กล่าวคือจะปฏิบัติงานโดยผู้ที่มี เช่น SMEs ความรู้และความชํานาญ  เน้นการใช้แรงงานมากกว่าใช้ ใช้เทคโนโลยีช้นสูงเข้ามาช่วยใน ั เทคโนโลยี การประเมินจะ การดําเนินการ พิจารณาจาก พื้นที่ คน, และ ใช้รูปแบบการสื่อสารที่รวดเร็ว ส่ง วัตถุดิบ ข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทันทีโดยไม่  ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารพื้นฐาน มีการหยุดพัก จึงสามารถทํางาน คือ จดหมาย, โทรสาร, และ ต่อเนื่องได้ทันที โทรศัพท์
  • 5. เปรียบเทียบลักษณะของธุรกิจยุคดั้งเดิมและธุรกิจยุคอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) ใช้ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ในการ  การบันทึกข้อมูลจะใช้วิธีการจดจํา และบันทึกลงสมุด จัดเก็บข้อมูล บริหารงานด้วยข้อมูลข่าวสาร การ  ใช้ระบบเส้นสายในการ บริหารงาน การตัดสินใจมัก ตัดสินใจจะพิจารณาจากข้อมูลเป็น พิจารณาจากแรงสังหรณ์มากกว่า หลัก ข้อมูล ใช้ ICT ในการกําหนดยุทธศาสตร์  ขาดยุทธศาสตร์เชิงรุก เชิงรุก โดยเน้นนวัตกรรมที่นําหน้า คู่แข่ง และมีการมองสถานการณ์ ในอนาคต
  • 6. ธุรกรรมของภาคธุรกิจในยุคอิเล็กทรอนิกส์  ธนาคาร เช่น ATM, E-Banking  โรงแรม เช่น การจองห้องพัก, การจัดเก็บข้อมูลลูกค้าเพื่อการ ให้บริการในอนาคต  บริษัทอุตสาหกรรม เช่น ออกแบบผลิตภัณฑ์, คํานวณความ ต้องการวัตถุดิบและชิ้นส่วน  ร้านค้าขนาดเล็ก เช่น การตัดรายการสินค้าที่ขายแล้วออก จาก Inventory, การทําบัญชี  บริษัทขายสินค้าทางอินเทอร์เน็ต เช่น จัดทําเว็บเพื่อโฆษณา สินค้าทางอินเทอร์เน็ต,ร่วมกับธนาคารรับการชําระเงินผ่าน อินเทอร์เน็ต
  • 8. งานด้านต่าง ๆ ที่นําระบบคอมพิวเตอร์มาใช้  คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการจัดซือ – จัดจ้ าง ้  คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการด้ านการผลิตและอุตสาหกรรม  คอมพิวเตอร์ กับงานทางด้ านการตลาด  คอมพิวเตอร์ กับการขาย  คอมพิวเตอร์ กับงานทางด้ านบัญชี  คอมพิวเตอร์ กับการขนส่ ง  คอมพิวเตอร์ กับการจัดการคลังสินค้ า  คอมพิวเตอร์ กับการบริ หารทรั พยากรมนุษย์  การใช้ คอมพิวเตอร์ ในสํานักงาน  คอมพิวเตอร์ กับระบบการบริ หารลูกค้ าสัมพันธ์ (CRM)
  • 9. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการจัดซื้อ - จัดจ้าง ั  การหาสินค้ าหรื อบริการ ผ่านระบบ E-Catalogue เช่น คือการเลือกสินค้ าหรื อบริ การจาก เว็บไซต์ผ้ ให้ บริการขายสินค้ าต่าง ๆ เช่น www.officemate.co.th หรื อ ู www.officedepot.co.th เป็ นต้ น
  • 10. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการจัดซื้อ - จัดจ้าง ั  การใช้ ระบบ e-Procurement คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการให้ บริ การที่ เกี่ยวข้ องในกิจกรรมการจัดซื ้อจัดจ้ างของภาครัฐ เช่น การตกลงราคา การสอบราคา การ ประกวดราคา และการจัดซื ้อรวมแบบออนไลน์ รวมถึงการลงทะเบียนบริ ษัทผู้ค้า ตัวอย่างเว็บไซต์ ระบบการจัดซื ้อจัดจ้ างภาครัฐ (www.gprocurement.go.th)
  • 11. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการจัดซื้อ - จัดจ้าง ั  ระบบ RFQ (Request for Quotation) คือการเสนอขอราคาขายสินค้ าจาก ผู้ขายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้ซื ้อจะทําการเลือกสินค้ าจาก Catalog ที่อยูใน ่ ฐานข้ อมูล และทําการส่ง RFQ ไปยังผู้ขาย
  • 12. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม ั  กระบวนการด้ านการผลิตและอุตสาหกรรมได้ มีการนํา คอมพิวเตอร์ มาใช้ กนอย่างแพร่หลาย เนื่องจากอุตสาหกรรมการ ั ผลิต นอกจากจะต้ องผลิตงานที่มีคณภาพ แล้ วยังต้ องผลิตอย่าง ุ รวดเร็ วให้ ทนกับการแข่งขันอีกด้ วย คอมพิวเตอร์ จงมีบทบาท ั ึ สําคัญในงานอุตสาหกรรม จนอาจกล่าวได้ วาอุตสาหกรรมบาง ่ ประเภทจําเป็ นต้ องใช้ คอมพิวเตอร์ ไม่สามารถดําเนินการ อุตสาหกรรมโดยไม่มีคอมพิวเตอร์ ได้
  • 13. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม ั  การอุตสาหกรรมและการวิศวกรรมที่หลากหลาย ดังต่อไปนี ้  การวางแผนออกแบบ วิเคราะห์แบบ  การเขียนแบบเพื่อการผลิต  การควบคุมเครื่ องจักรกลการผลิต  การวางแผนจัดการวัสดุครุ ภณฑ์ในการผลิต ั  การสร้ าง และ การจัดการฐานข้ อมูลบุคลากร  การสร้ าง และ การจัดการฐานข้ อมูลการผลิต  การทําบัญชีและวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต
  • 14. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม ั  การ นําระบบคอมพิวเตอร์ มาช่วยในงานอุตสาหกรรมมีหลาย ระบบอย่างเช่น  MES (Manufacturing Execution system )  CAD (Computer aid design )  CAM (Computer aid manufacturing )  CAE ( Computer aid Engineering)
  • 15. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม ั  MES : Manufacturing Execution System  เป็ นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ การวางแผนการ การควบคุมติดตามการผลิตสินค้ า การ ควบคุมคลังวัตถุดิบ ตารางการผลิต การควบคุมขบวนการผลิต การกําหนดราคาต้ นทุน สินค้ า การตรวจสอบคุณภาพสินค้ า การจัดส่งและการกระจายสินค้ า
  • 16. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม ั  CAD :Computer Aided Design and Drafting คือ การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยออกแบบและเขียนแบบและเกี่ยวข้ องกับงาน วิศวกรรม  พัฒนาแบบจําลองชิ ้นส่วนจากแบบที่ได้ รับ  ประเมินการแก้ ไขข้ อมูล CAD ของชิ ้นส่วนที่ออกแบบบน ระบบ CAD เพื่อให้ ยอมรับได้ ในการผลิต  เปลี่ยนแปลงชิ ้นส่วนที่ออกแบบเพื่อให้ สามารถผลิตได้ สิงนี ้อาจรวมถึงการเพิ่ม ่ มุมสอบ (Draft angle) หรื อพัฒนาแบบจําลอง ของชิ ้นส่วนที่แตกต่างกัน ออกไป สําหรับขันตอนที่แตกต่างกันในกระบวนการผลิตที่ซบซ้ อน ้ ั  ออกแบบอุปกรณ์จบยึด โพรงแบบ (Model cavity) ฐานแม่พมพ์ ั ิ (Model base) หรื อ เครื่ องมืออื่น ๆ
  • 17. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม ั  CAM: Computer Aided Manufacturing การ ใช้ คอมพิวเตอร์ ชวยในการผลิต ซึงจะใช้ ซอร์ ฟแวร์ เพื่อ ่ ่ ควบคุมเครื่ องจักร ให้ สามารถสร้ างชิ ้นงานได้ ตามที่ได้ ออกแบบไว้ แล้ ว  CAE : Computer Aided Engineeringการใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานวิศวกรรม หมายถึง การบอกถึง ความสามารถของสิงที่ออกแบบว่า สามารถทํางานได้ ่ ตามที่อยากให้ เป็ นหรื อไม่ ซึงสิงที่เป็ นตัวบ่งชี ้ ่ ่
  • 18. คอมพิวเตอร์กบกระบวนการด้านการผลิตและอุตสาหกรรม ั 1. จะต้ องลดหรื อเพิ่มผลผลิต เพื่อให้ เหมาะสมกับความต้ องการจริ ง ของตลาดให้ มากที่สดและทันกับเวลามากที่สด ุ ุ 2. ต้ องการเพิ่มความสามารถในการผลิต ให้ กบส่วนงานการผลิต ั 3. เพื่อสามารถลดปริ มาณผลิตภัณฑ์ที่ต้องทิ ้ง เนื่องจากไม่ได้ คณภาพ ุ 4. เพื่อให้ สามารถสรุปยอดการผลิตในแต่ละช่วงเวลา ให้ ไวและละเอียด 5. เพื่อให้ สามารถตรวจสอบประสิทธิภาพของแต่สวนงานการผลิตโดย ่ อิงถึงข้ อมูลที่แท้ จริ ง 6. เพื่อสามารถวางแผนงานที่เหมาะสมที่สด ุ 7. เพื่อให้ ควบคุมต้ นทุนได้ อย่างแม่นยําและสะดวก
  • 19. คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด ั  ปั จจุบนได้ มีการนําเอาระบบคอมพิวเตอร์ ั มาประยุกต์ใช้ ในงานด้ านการตลาดอย่าง มากมายตังแต่การเก็บรวบรวมข้ อมูล ้ พฤติกรรมผู้บริ โภค การเก็บข้ อมูลการ ขาย การวิเคราะห์ข้อมูลด้ านการตลาด การออกแบบการโฆษณาประชาสัมพันธ์ สินค้ า และการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ตลอดจนการสื่อสารให้ ลกค้ าได้ รับทราบ ู เกี่ยวกับสินค้ าหรื อองค์กรธุรกิจ
  • 20. คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด ั  การเสนอขายสินค้ าผ่ านระบบ E-Commerce
  • 21. คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด ั  การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)  Banner Marketing รู ปแบบดังเดิมที่สดในการโฆษณาบนอินเตอร์ เน็ต ซึงอาจอยูใน ้ ุ ่ ่ รูปของภาพ หรื อ ข้ อความ ข้ อดีของวิธีการนี ้คือ ง่าย และ สะดวก ในการนําเสนอ
  • 22. คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด ั  การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)  Search Engine Marketing (SEM) คือ การทําการตลาดผ่านเสริ จเอ็นจิ ้น โดยใช้ เครื่ องมือบนอินเตอร์ เน็ตโดยมีเว็บไซต์เป็ นเครื่ องมือพื ้นฐานในการทําการตลาด Search Engine Marketing นัน ้
  • 23. คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด ั  การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)  Search Engine Marketing (SEM)  เครื่ องมือสําหรับการทํา Search Engine Marketing นัน จะใช้้ เครื่ องมือค้ นหาทางอินเทอร์ เน็ต (Search Engine) ที่เด่นๆ นันก็ได้ แก่ ้ Google,Yahoo และ Live (MSN) โดยการทํา SEM นี ้ แบ่ง ออกเป็ น 2 ส่วนคือ  การทํา Search Engine Optimization (SEO) คือ การปรับแต่งหน้ าเว็บไซต์เองโดยอาจจะมีการปรับโครงสร้ างภายใน code, โครงสร้ าง link เพื่อให้ เว็บไซต์อยูอนดับต้ น ๆ ของหน้ าที่ ่ ั ค้ นหา
  • 24. คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด ั  การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement)  Search Engine Marketing (SEM) 2. Pay per click (PPC) คือการทําให้ เว็บไซต์ของเราขึ ้นอันดับ ง่ายๆ ด้ วยการ จ่ายเงินค่าโฆษณาให้ กบ Search Engine โดยค่าใช้ จายนัน จะมีการจ่ายเป็ นต่อคลิก ั ่ ้ คือ เมื่อใดก็ตามที่มีคนเข้ ามาคนค้ นหาแล้ วโฆษณาเว็บไซต์ของเราปรากฏขึ ้นบนฝั่ ง ขวามือ เราจะยังคงไม่เสียค่าโฆษณา จนกว่ามีผ้ ที่ค้นหาสนใจสินค้ าหรื อบริ การของเรา แล้ วคลิก ู โฆษณาเพื่อเข้ าเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราแล้ วล่ะก็ เราจึงจะเสียค่าใช้ จาย ต่อการคลิกของ ่ ลูกค้ าแต่ละคน Pay per click นันมีชื่อเรี ยกกันหลากหลายชื่อเลยทีเดียว หากใครไปได้ ยินชื่อที่เรี ยกว่า ้ Keywords Advertising, Cost Per Click (CPC), Sponsored Link, Paid Placement และจะมีช่ือเรี ยกไปตาม Search Engine ต่างๆ ด้ วย เช่น Google ก็จะเรี ยกว่า “Google AdWords” ส่วน Yahoo ก็จะเรี ยกว่า “Y!SM Yahoo Search Marketing” เป็ นต้ น
  • 25. คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด ั  การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement) 
  • 26. คอมพิวเตอร์กบงานทางด้านการตลาด ั  การตลาดบนสังคมออนไลน์ (Social Networking Marketing)  สังคมออนไลน์ (Social Network) คือสังคมที่ผ้ คนสามารถทําู ความรู้จก ร่วมแบ่งปั นสิงที่สนใจ และสามารถเชื่อมโยงกันได้ ในทิศทางใด ั ่ ทิศทางหนึง ในโลกอินเตอร์ เน็ต โดยอาศัยรูปแบบการบริ การ เรี ยกว่า “บริ การ ่ เครื อข่ายสังคม หรื อ Social Networking Service (SNS)” 