SlideShare a Scribd company logo
เทคนิคการเผยแพรและถายทอดขอมูล
                  ทางอินเทอรเน็ต



                                                     โดย
                              นายราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ
       ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ
หัวขอการบรรยาย

 พื้นฐานการพัฒนาขอมูลบนระบบเครือขาย
 อินเทอรเน็ต
 การพัฒนาขอมูลบนอินเทอรเน็ตเพือการคา
                                ่
 การพัฒนาขอมูลบนอินเทอรเน็ตเพือการศึกษา
                                  ่
พื้นฐานการพัฒนาขอมูลบนระบบ
      เครือขายอินเทอรเน็ต
ขั้นตอนการพัฒนาขอมูลบนระบบเครือขาย
อินเทอรเน็ต
                                   นําขอมูลเขาสูระบบ
วางแผนการพัฒนา     พัฒนาขอมูล
                                       อินเทอรเน็ต
   (Planning)    (Development)
                                     (Transferring)


                  รับขอคิดเห็น
                                     ประชาสัมพันธ
                 (Comment &
                                     (Promotion)
                  Sugesstion)


                  ปรับปรุงขอมูล
                 (Maintenance)
ขั้นตอนการวางแผนการพัฒนา

 ตองการจะนําเสนอขอมูลอะไร? ขายอะไร?
 กลุมเปาหมายคือใคร?
    
 จะมีขอมูล หรือสินคา หรือบริการอะไรบาง?
 จะนําเสนออยางไร?
 มีงบประมาณเทาไหร?
 ใครเปนผูทา?
            ํ
การพัฒนาขอมูล

 ทําเองหรือจางคนอื่นทํา?
 มีขอมูลอะไรบาง? จะนําเสนอแคไหน? รูปแบบ
    
 ไหน?
 เปนแบบ Static หรือ Dynamic
 มีการเขียนโปรแกรมหรือไม?
 มีระบบซือขายผานระบบอินเทอรเน็ตหรือไม?
          ้
 จะใชเครื่องมืออะไรในการพัฒนา
เครื่องมือที่ใชในการพัฒนาขอมูล

 Web Authoring Tools (Text Editor,
 Dreamweaver, Frontpage, NetObject
 Fusion)
 Web Animation (Macromedia Flash)
 Graphic (Adobe Photoshop, Paint Shop
 Pro, CorelDraw)
ภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมบนเว็บ

 PHP (Windows & UNIX)
 Perl (Windows & UNIX)
 JAVA (Windows & UNIX)
 ASP (Windows)
 JSP (UNIX)
การนําขอมูลเขาสูระบบอินเทอรเน็ต

 พัฒนาขอมูลบนเครื่องพัฒนา ในแบบออฟไลน
 นําขอมูลที่พฒนาขึ้นมา เขาสูระบบอินเทอรเน็ต
              ั
 โดยใชโปรแกรมประเภท FTP (File Transfer
 Program)
การประชาสัมพันธ

 แบบออฟไลน เปาหมายคือพยายามให URL
 ของเว็บไซตติดตากลุมเปาหมาย หรือลูกคา
                    
 ใหมๆ อยูตลอด
 แบบออนไลน เชน การแลกแบนเนอร, การ
 ลงทะเบียนในเว็บคนหาขอมูล (Search
 Engine) การใชอีเมลลในการประชาสัมพันธ
การรับขอคิดเห็น

 มีอีเมลลหรือเบอรโทรศัพทติดตอ หรือทีอยูใน
                                        ่ 
 เว็บเพจ
 จัดทําแบบฟอรมรับขอคิดเห็น
 มีระบบ www-Board สําหรับการรับขอคิดเห็น
 หรือการตอบปญหา หรือแนะนําบริการตางๆ
 ทํา Poll หรือแบบสอบถามเกียวกับสินคาและ
                             ่
 บริการ
การปรับปรุงขอมูล

 เมือมีขอคิดเห็นเขามาสิ่งที่ตองทําคือ การตอบ
    ่   
 รับขอคิดเห็นนั้น แลวกลับมาวิเคราะหวาควรจะ
 ปรับปรุงแกไขอยางไร
 ใครเปนผูปรับปรุงขอมูล?
 หลังจากทําการปรับปรุงขอมูลเรียบรอยแลว
 จะตองมีการแจงกลับไปใหผูที่สงขอคิดเห็น
 ทราบ และประกาศ หรือประชาสัมพันธ บริการ
 ใหมๆ ตอไป
สิ่งที่ตองมีเมื่อคิดจะทําเว็บ
        

  อุปกรณ
       เครื่องคอมพิวเตอรที่เปนเซอรเวอร
       เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในการพัฒนาขอมูล
  คน
       ผูพัฒนาขอมูลหรือดูแลเว็บ (Webmaster)
       ผูดูแลระบบ (System Administrator)
  ซอฟตแวร
       สําหรับเซอรเวอร
       สําหรับใชในการพัฒนาเว็บ
คาใชจายสําหรับการพัฒนาเว็บ

 คาเชาพื้นที่เว็บไซต (Web Hosting)
 คาอุปกรณและซอฟตแวรที่ตองใช
 คาเชาโดเมนเนม
 คาจางผูพฒนาขอมูล และผูดูแลระบบ
            ั
การพัฒนาขอมูลบนอินเทอรเน็ต
        เพื่อการคา
พาณิชยอิเล็กทรอนิกสคืออะไร

 ถาจะกลาวกันสั้นๆ ก็คอการทํา ”การคา” ผาน
                         ื
 ทางระบบอิเล็กทรอนิกส นั่นเอง โดยคําวาสื่อ
 อิเล็กทรอนิกสนั้นจะครอบคลุมตั้งแต ระดับ
 เทคโนโลยีพื้นฐาน อาทิ โทรศัพท โทรสาร
 โทรทัศน ไปจนถึงเทคโนโลยีทมความซับซอน
                                   ี่ ี
 กวานี้ แตวาในปจจุบนสื่อที่เปนที่ นิยมและมี
                       ั
 ความแพรหลายในการใชงานคือ อินเทอรเน็ต
อะไรคือ e-Business?

 e-Business คือ การดําเนินกิจกรรมทาง
 “ธุรกิจ” ตางๆ ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส การใช
 คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร
 และอินเทอรเน็ต เพือทําใหกระบวนการทาง
                     ่
 ธุรกิจทีมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความตองการ
          ่
 ของคูคา ลูกคาใหตรงใจ รวดเร็ว เพือลดตนทุน
                                     ่
 ขยายโอกาสทางการคา และการบริการ เมือเขา ่
 สูยุคดิจทลิ ั
รูปแบบของการทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

  ผูประกอบการ กับ ผูบริโภค
  (Business to Consumer - B2C)
  ผูประกอบการ กับ ผูประกอบการ
  (Business to Business – B2B)
  ผูบริโภค กับ ผูบริโภค
  (Consumer to Consumer - C2C)
  ผูประกอบการ กับ ภาครัฐ
  (Business to Government – B2G)
  ภาครัฐ กับ ประชาชน
  (Government to Consumer -G2C)
ผูประกอบการ กับ ผูบริโภค
                   

 ผูประกอบการ กับ ผูบริโภค (Business to
 Consumer - B2C) คือ การคาระหวางผูคา
 โดยตรงถึงลูกคาซึ่งก็คอผูบริโภค เชน การขาย
                       ื 
 หนังสือ ขายวีดีโอ ขายซีดีเพลง เปนตน
ผูประกอบการ กับ ผูประกอบการ
                   

 ผูประกอบการ กับ ผูประกอบการ
 (Business to Business – B2B) คือ
 การคาระหวางผูคากับลูกคาเชนกัน แตในทีนี้
                                            ่
 ลูกคาจะเปนในรูปแบบของผูประกอบการ ซึงจะ    ่
 ครอบคลุมถึงเรื่อง การขายสง การทําการสั่งซือ   ้
 สินคาผานทางระบบอิเล็กทรอนิกส ระบบหวงโซ
 การผลิต (Supply Chain Management) เปน
 ตน ซึ่งจะมีความซับซอนในระดับตางๆกันไป
ผูบริโภค กับ ผูบริโภค

 ผูบริโภค กับ ผูบริโภค (Consumer to
 Consumer - C2C) คือ การติดตอระหวาง
 ผูบริโภคกับผูบริโภค ซึ่งจะมีหลายรูปแบบ และ
 หลายวัตถุประสงค เชน เพือการติดตอ
                             ่
 แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร ในกลุมคนทีมการ
                                        ่ ี
 บริโภคเหมือนกัน หรืออาจจะทําการแลกเปลี่ยน
 สินคากันเอง ขายของมือสองเปนตน
ผูประกอบการ กับ ภาครัฐ

 ผูประกอบการ กับ ภาครัฐ (Business to
 Government – B2G) คือ การประกอบธุรกิจ
 ระหวางภาคเอกชนกับภาครัฐ ที่ใชกันมากก็คือเรืองการ
                                               ่
 จัดซื้อจัดจางของภาครัฐ หรือทีเรียกวา eProcurement
                               ่
 ในประเทศที่มความกาวหนาดานพาณิชย
                ี
 อิเล็กทรอนิกสแลว รัฐบาลจะทําการซือ/จัดจางผาน
                                      ้
 ระบบอิเล็กทรอนิกสเปนสวนใหญเพื่อประหยัด
 คาใชจาย เชนการประกาศจัดจางของภาครัฐใน
 เว็บไซต www.mahadthai.com หรือการใชงานระบบ
 อีดีไอในพีธีการศุลกากรของกรมศุลฯ
 www.customs.go.th
ภาครัฐ กับ ประชาชน

 ภาครัฐ กับ ประชาชน (Government to
 Consumer -G2C) ในที่นี้คงไมใชวัตถุประสงคเพื่อ
 การคา แตจะเปนเรืองการบริการของภาครัฐผานสื่อ
                    ่
 อิเล็กทรอนิกส ซึงปจจุบันในประเทศไทยเองก็มี
                  ่
 ใหบริการแลวหลายหนวยงาน เชนการคํานวณและเสีย
 ภาษีผานอินเทอรเน็ต, การใหบริการขอมูลประชาชน
 ผานอินเทอรเน็ต เปนตน เชนขอมูลการติดตอการทํา
 ทะเบียนตางๆของกระทรวงมหาดไทย ประชาชน
 สามารถเขาไปตรวจสอบวาตองใชหลักฐานอะไรบางใน
 การทําเรืองนันๆ และสามารถดาวนโหลดแบบฟอรม
          ่   ้
 บางอยางจากบนเว็บไซตไดดวย
ประโยชนของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

 ประหยัดคาใชจาย ลดคาใชจายบุคลากรบางสวน ลด
 ขั้นตอนการประกอบธุรกิจ ประหยัดคาใชจายในการ
 ติดตอแบบเดิมๆ
 ไมมขอจํากัดดานสถานที่ สามารถเขาถึงลูกคาไดทั่ว
      ี
 โลก (หมายความวาตองสรางเว็บไซตใหมีขอมูลเปน
                                         
 ภาษาสากลหรือภาษาทีกลุมลูกคาเปาหมายของเราใช
                        ่ 
 มากๆ เชนภาษาจีน ญีปุน เปนตน)
                      ่
 ไมมขอจํากัดดานเวลา สามารถทําการคาได 24
        ี
 ชั่วโมง 7 วัน ผานระบบอัตโนมัติ
ประโยชนของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
ประโยชนสําหรับผูซอ/ผูบริโภค
                  ื้
 หาขอมูลเพื่อเปรียบเทียบเรื่องราคา คุณภาพสินคาและขอมูล
 อืนๆเพื่อประกอบการตัดสินใจซือ
   ่                             ้
 อินเทอรเน็ตมีประโยชนมากในเรืองนี้ สามารถเขาไปในเว็บบอรด
                                   ่
 ตางในการหาขอมูลไดงาย
 มีรานคาใหเลือกมากขึ้น
 เพียงแคพิมพคียเวิรดลงในเครืองมือคนหาก็มีสินคาออกมาให
                              ่
 เลือกมากมาย
 ไดรับสินคาอยางรวดเร็ว ในกรณีทซื้อสินคาที่จับตองไมได
                                       ี่
 เพราะสามารถไดรับสินคาผานทางอินเทอรเน็ตไดเลย
 สินคาบางอยางสามารถลดพอคาคนกลางได ทําใหไดราคาทีถก    ่ ู
 ลง คงไมใชกับทุกสินคาหรือทุกผูผลิตทีมีความตองการมาทํา
                                         ่
 การขายเอง อาจจะไดกับสินคาบางชนิด
ประโยชนสาหรับผูผลิตและผูขาย
         ํ
 ลดความผิดพลาดในการสื่อสาร จากเดิมทีในการคาตองสง
                                          ่
 แฟกซ หรือบางทีบอกจดทางโทรศัพท รับใบคําสั่งซื้อแลวมาคีย
 เขาระบบ ถาสามารถทําการติดตอกันผานสื่ออิเล็กทรอนิกส สง
 ขอมูลกันไดเลยจะชวยลดความผิดพลาดในสวนนีไปได้
 ลดเวลาในการผลิต นําเอาเทคโนโลยีมาชวยในการคํานวณเรื่อง
 ความตองการวัตถุดิบ การทําคําสังซื้อวัตถุดบ
                                     ่      ิ
 เพิ่มประสิทธิภาพในระบบสํานักงานสวนหลัง
 เปดตลาดใหม หาคูคา ซัพพลายเออรรายใหม
 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินคาคงคลัง
 เพิ่มความสัมพันธกับคูคาใหดีขึ้น
 สรางมูลคาเพิ่มใหกับเว็บไซตของบริษท โดยการสรางขอมูลที่
                                       ั
 เปนประโยชนตอลูกคา การใหบริการหลังการขายใหคําปรึกษา
                 
 เรื่องผลิตภัณฑ หรือการแกไขเบื้องตนอยางรวดเร็ว
ขั้นตอนในการทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส
การหาขอมูล/การโฆษณาประชาสัมพันธ
(Searching & Advertising)

 วัตถุประสงคเบื้องตนในการทําเว็บไซตก็คอ การใหขอมูล
                                          ื
 ขาวสาร ทีตองการสื่อสารไปยังผูรับสาร ดังนันในฝงของผูสงสาร
             ่                             ้
 การทีจะสื่อสารใหไดประสิทธิภาพ คือ การสรางขอมูลใหมี
       ่
 คุณภาพ สามารถสืบคนไดงาย อานแลวเขาใจงาย คือหัวใจ
 สําคัญ แตวาในโลกอินเทอรเน็ตนันมีขอมูลอยูมากมาย ทํา
                                   ้
 อยางไรใหสามารถสื่อสารถึงกลุมผูรับทีตองการไดอยางมี
                                      ่
 ประสิทธิภาพทีสุด สวนผูรบสารก็ตองการความสะดวกในการรับ
                 ่        ั
 สารทีตองการ สามารถไดสารมาโดยงาย และตองมีความเขาใจ
           ่
 และตัดสินใจในการรับสารนันในเบื้องตน เพราะฉะนันในขันตอน
                             ้                     ้    ้
 แรกนีคือลูกคาจะเขามาทําการสืบคนหาขอมูลสินคาใน
         ้
 อินเทอรเน็ตหรืออาจจะชองทางอื่นๆ แลวแตความสะดวก เพื่อ
 ประกอบการตัดสินใจในการที่จะซื้อหรือไมซื้อสินคาตอไป
การทําธุรกรรม (Transaction)


 จะเริ่มตั้งแตการทําคําสั่งซือ การชําระเงินคา
                              ้
 สินคา ไปจนการจัดสงสินคา
การทําคําสั่งซื้อ (Ordering)

 เมือไดขอมูลเพียงพอและตองการจะทําการซือ
     ่                                         ้
 สินคาหรือจะทําธุรกรรมกันแลว ในฝงผูขายตอง
                                     
 มีระบบทีมประสิทธิภาพรองรับอยู ไมวาจะเปน
           ่ ี                         
 ระบบตะกราสินคา (Shopping Carts) ทีอานวย ่ ํ
 ความสะดวกใหผูใช เชนแสดงรายละเอียดที่ดู
 ไดงายวาไดทําการเลือกสินคาใดๆไวบางแลวใน
                                         
 ตะกรา รวมแลวคาสินคาเปนเทาไร ภาษีคา
 จัดสงตางๆ ควรแสดงใหเห็นดวย และตอง
 สามารถใหลูกคาสามารถเก็บขอมูลรายการ
 สินคาไวไดในชวงระยะเวลาหนึ่งเพือทําการ
                                   ่
 สั่งซือภายหลัง
       ้
ระบบการชําระเงิน
(Payment Systems)
 ในการพิจารณาเรื่องวิธการชําระเงินนั้น ให
                         ี
 พิจารณาถึงกลุมลูกคาวาเปนใคร เชนเปนลูกคา
 ภายในประเทศ กลุมวัยรุน วัยทํางาน หรือกลุมที่
                                           
 อยูตางจังหวัด วิธทสะดวกจะมีใหเลือกหลายวิธี
                   ี ี่
 ทั้งธนาณัติ การโอนเงินทางธนาคาร โอนเงิน
 ผานตูเอทีเอ็ม จายเงินผานบัตรเครดิต
องคประกอบในการชําระเงิน

 ลูกคา(Customer)
 รานคา(Merchant)
 ธนาคารที่รานคาเปดบัญชีไว (Acquiring Bank)
 ธนาคารผูออกบัตร (Issuing Bank)
ขั้นตอนการชําระดวยเครดิตการด
ผานอินเทอรเน็ต
การจัดสงสินคา

  สินคาจะมี 2 รูปแบบคือ สินคาทีจบตองได (Tangible
                                   ่ั
 Goods) และสินคาที่จบตองไมได (Intangible Goods)
                            ั
 ดังนั้นการจัดสงจึงมี 2 รูปแบบคือ สงโดยผานผูใหบริการสําหรับสินคา
 ที่จบตองได เชนเดียวกันในการจัดสงตองมีวิธีใหลูกคาใหเลือกไดหลาย
     ั
 วิธีตามตองการเชนกัน สงพัสดุตามปกติ สง EMS สงผานผู
 ใหบริการรับสงสินคา (Courier) เชนเดียวกันตองมีใหเลือกทังแบบ  ้
 สงปกติ สงดวน สงดวนพิเศษ ตามความตองการของลูกคา สวนสินคา
 ที่จบตองไมไดนั้นการจัดสงจะทําการสงผานทางสื่ออิเล็กทรอนิกสได
       ั
 เลย เชนดาวนโหลดเพลง ซื้อขอมูล การเปนสมาชิกดูขอมูลของ
 เว็บไซตตางๆ เปนตน
ตัวอยางเว็บไซตที่ทําการคา
บนอินเทอรเน็ต
ตัวอยางเว็บไซตที่ทําการคา
บนอินเทอรเน็ต
ตัวอยางเว็บไซตที่ทําการคา
บนอินเทอรเน็ต
ตัวอยางเว็บไซตที่ทําการคา
บนอินเทอรเน็ต
การพัฒนาขอมูลบนอินเทอรเน็ต
       เพื่อการศึกษา
E-Learning คืออะไร?

 E-Learning = Electronics + Learning
 E-Learning คือ การใชเทคโนโลยีทางดาน
 อิเล็กทรอนิกส เพือการเผยแพร, สนับสนุน หรือ
                   ่
 เพิ่มประสิทธิภาพของกิจกรรมทางการศึกษา
 การเรียนการสอน หรือการเรียนรู
สวนประกอบของ E-Learning

 เนื้อหา ในระบบ E-Learning สามารถนําเสนอ
 เนื้อหาไดหลายประเภท เชน ตัวอักษร, รูปภาพ,
 เสียง, วิดีโอ หรือแอนิเมชั่น
 ระบบจัดการการเรียนการสอน (Learning
 Management System)
 บุคลากรที่เกียวของกับระบบ เชน ผูเรียน,
               ่
 ผูสอนหรือผูพฒนาเนื้อหา และผูดูแลระบบ
                 ั
สิงสําคัญของระบบ E-Learning
  ่

 การพัฒนาเนื้อหา (Content Development)
 ระบบจัดการการเรียนการสอน (Learning
 Management System)
 มาตรฐานของ E-Learning (E-Learning
 Standard)
การพัฒนาเนื้อหา
(Content Development)

 ใชกระบวนการของ Instructional Design (ID)
 ในการออกแบบและพัฒนาเนื้อหาทีมี      ่
 ประสิทธิภาพ ตรงกับความตองการ และอยูใน     
 รูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย
                          
 กระบวนการ Instructional Design มีพนฐานมา
                                       ื้
 จากทฤษฎีการเรียนรู เพือใหกลุมเปาหมาย
                        ่
 ไดรับผลตามวัตถุประสงคการเรียนรูที่ไดตั้งไว
                                   
สวนประกอบสําคัญของ
Instructional Design

  วัตถุประสงคของการเรียน (Objectives)
  ผูเรียน (Learners)
  วิธการเรียนการสอน (Methods)
      ี
  การประเมินผล (Evaluation)
ขั้นตอนในการพัฒนาเนือหา
                    ้
          การวางแผนการพัฒนาเนื้อหา
             (Content Planning)



               การพัฒนาเนื้อหา
           (Content Development)



             การประเมินผลเนื้อหา
            (Content Evaluation)



              การเผยแพรเนื้อหา
             (Content Delivery)
ใครเปนผูพฒนาเนือหา
           ั     ้

 Instructional Designer
 Instructor
 Subject Matter Expert (SME)
 Media Production Specialist, Graphic Artist,
 Script Writer, Video & Still Image
 Production, Network or System
 Administrator
อะไรคือระบบบริหารจัดการการเรียน
(Learning Management System)
 ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอนคือ ระบบที่
 เปนสื่อกลางในการติดตอสื่อสารระหวางบุคคล
 ตางๆ ทีเกียวของกับตัวระบบ
          ่ ่
 ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน จะมี
 เครื่องมืออํานวยความสะดวกใหกบบุคคลที่
                                ั
 เกียวของใหสามารถใชงานระบบไดงาย และ
    ่
 เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ระบบ LMS ทําอะไร?

 บริการจัดการสื่อการเรียนรู (Learning
 Material) หรือบริหารจัดการคลังความรู
 (Knowledge Management)
 จัดเก็บสถิติการใชงานและสนับสนุนการสราง
 รายงานการใชงานระบบ
 อํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสารระหวาง
 แตละบุคคลในระบบ
ผังระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน


    ผูเรียน
  (Learners)

                  ระบบบริหารจัดการการเรียน   คลังขอมูลเนื้อหา
    ผูสอน                                         หรือ
                   (Learning Management
  (Teachers)                                   คลังความรู
                          System)

 ผูจัดการระบบ
(Administrator)
ทําไมตองมีมาตรฐานของ E-Learning ?

 เพือใหสามารถพัฒนาระบบ E-Learning ไดไม
        ่
 จํากัดแพลตฟอรม
 เพือใหสามารถแลกเปลี่ยนขอมูล หรือเกิดการ
      ่
 ใชขอมูลรวมกันในสถานศึกษา หรือระหวาง
 สถาบันการศึกษาได
 เพือใหสามารถใชงานระบบไดทั้งใน
    ่
 สถาบันการศึกษา และในระดับภายนอก
องคกรที่ทําการพัฒนามาตรฐานของ
E-Learning

 Aviation Industry CBT Committee (AICC,
 www.aicc.org)
 IMS Global Consortium Inc. (IMS.
 www.imsproject.org)
 Advanced Distributed Learning, SCORM
 (ADL, www.adlnet.org)
องคกรที่ทําการพัฒนามาตรฐานของ
E-Learning (ตอ)

 IEEE Learning Technology Standard
 Committee (IEEE LTSC, ltsc.ieee.org)
 IT for Learning Education and Training
 (ISO/IEC JTC1 SC36)
ตัวอยางเว็บไซต E-Learning
ในประเทศไทย
ตัวอยางเว็บไซต E-Learning
ในประเทศไทย
ตัวอยางเว็บไซต E-Learning
ในประเทศไทย
เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับ E-Learning

 Web Authoring
 Web Programming
 Database Management System
 Graphic Design
 Animation
 Streaming Media
Streaming Video คืออะไร?

 Streaming Video คือ เทคนิคในการเขาถึงสื่อวิดีโอ
 ทั้งในแบบ real-time หรือ on-demand ผานระบบ
 เครือขายอินเทอรเน็ต หรือระบบเครือขายอินทราเน็ต
 สื่อวิดีโอทีเปน Streaming Video นี้จะถูกสงผานไปใน
             ่
 ระบบเครือขาย โดยอาศัยเครืองคอมพิวเตอรททํา
                             ่                  ี่
 หนาทีเปน Media Server หรือ Video Server ซึงผูชม
         ่                                         ่
 จะสามารถเขาถึงสื่อวิดีโอชนิดนี้ไดโดยใชเครื่อง
 คอมพิวเตอรที่ตออยูกบเครือขายอินเทอรเน็ตหรือ
                       ั
 อินทราเน็ต โดยอาศัยโปรแกรม Web Browser
รูปแบบการทํางานของ Streaming Media



                          Web Server




 ผูเขาชม
(Visitors)
             INTERNET
                          Media Server
                         (Video Server)
อุปกรณที่ตองใชในการทํา
Streaming Video
 กลองวิดีโอหรือสือบันทึกวิดีโอในรูปแบบตางๆ
                  ่
 เครืองคอมพิวเตอรททําหนาที่ในการตัดตอวิดีโอ
       ่                ี่
 ซอฟตแวรที่ใชในการตัดตอวิดีโอ และซอฟตแวรที่ใช
 ในการแปลงสัญญาณใหอยูในรูปแบบ Streaming
 Video
 เครืองคอมพิวเตอรททําหนาทีเปน Web Server และ
     ่               ี่        ่
 Media Server
 ซอฟตแวรที่ใชในการใหบริการ Streaming Video เชน
 Real Server (Helix Universal Server) หรือ
 Windows Media Server
อุปกรณทตองใชในการทํา
        ี่
Streaming Video
ชนิดของ Streaming Video

 ในปจจุบนสื่อวิดีโอที่นยมใชในระบบเครือขาย
         ั              ิ
 อินเทอรเน็ตมีอยูดวยกันสามชนิดคือ
    Real Video (จาก Real Networks)
    Windows Media Video (จาก Microsoft)
    QuickTime Video (จาก Apple)
ขั้นตอนในการทํา Streaming Video

 ขั้นตอนในการทํา Streaming Video จะเหมือนขันตอน้
 ในการผลิตสื่อวิดีโอในแบบปกติ แตกตางกันเฉพาะใน
 สวนของการนําสัญญาณออก (Exporting) ซึ่งจะตอง
 ใชซอฟตแวรในการแปลงสัญญาณวิดีโอที่ไดใหเปน
 Streaming Video เชน โปรแกรม Real Publisher
 (Helix Publisher) สําหรับการแปลงสื่อใหอยูใน
 รูปแบบ real format หรือโปรแกรม Windows Media
 Encoder สําหรับการแปลงสื่อใหอยูในรูปแบบ
 Windows Media format เปนตน
ขั้นตอนในการทํา Streaming Video (ตอ)



 Shooting        Digitizing



                  Editing


                               Real Media
                 Exporting     Windows Media
                               Quicktime
ขอบคุณครับ
rachy@nectec.or.th

More Related Content

What's hot (18)

PDF
Digital Photo Archive
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
Yongyut Nintakan
 
PDF
ใบงานหน่วยที่ 1
watnawong
 
PDF
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
ajpeerawich
 
PDF
New Technology for Information Services
Boonlert Aroonpiboon
 
PDF
LAM Code of conduct
Boonlert Aroonpiboon
 
PDF
20180828 digital-archives
Boonlert Aroonpiboon
 
PDF
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
Meaw Sukee
 
PDF
digital law for GLAM
Boonlert Aroonpiboon
 
PDF
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
guest832105
 
PDF
20080218 Government Email Service Thaweesak
Thaweesak Koanantakool
 
PDF
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
Yongyut Nintakan
 
PDF
20180919 digital-collections
Boonlert Aroonpiboon
 
PPT
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
jintara022
 
PDF
Network01 12
paween
 
PDF
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
PDF
Digital Standard & Web Policy
Boonlert Aroonpiboon
 
PDF
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Pattama Poyangyuen
 
Digital Photo Archive
Rachabodin Suwannakanthi
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
Yongyut Nintakan
 
ใบงานหน่วยที่ 1
watnawong
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
ajpeerawich
 
New Technology for Information Services
Boonlert Aroonpiboon
 
LAM Code of conduct
Boonlert Aroonpiboon
 
20180828 digital-archives
Boonlert Aroonpiboon
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
Meaw Sukee
 
digital law for GLAM
Boonlert Aroonpiboon
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
guest832105
 
20080218 Government Email Service Thaweesak
Thaweesak Koanantakool
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
Yongyut Nintakan
 
20180919 digital-collections
Boonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
jintara022
 
Network01 12
paween
 
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Digital Standard & Web Policy
Boonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Pattama Poyangyuen
 

Viewers also liked (20)

PDF
Striking a Balance: Middle Ground in Front-End Development
Nathan Smith
 
PPTX
Minimal reason to learn Perl
Sanjeev Kumar Jaiswal
 
PPT
8. Social 2.0 Would U Like To Add Me Rudi Leung
HKAIM
 
PPT
Om Max Power Of Having A Spritual Friend 1
Bryan Sumendap
 
PDF
12. Social 2.0 Mobile Social Networking Jason Chiu
HKAIM
 
PPT
Mixbook
dboling
 
PDF
e-Museum of Wat Makutkasattriyaram
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Bittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
Sanjeev Kumar Jaiswal
 
PPS
Juliuss Story So Far Bens
guest898b1e
 
PDF
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Rachabodin Suwannakanthi
 
PPTX
The Mall
dboling
 
PDF
Basics of GnuPG (gpg) command in linux
Sanjeev Kumar Jaiswal
 
PPS
Como cambiar en 30 dias
Juan Carlos Fernandez
 
PPT
Final Project
Vivianna Andrade
 
PDF
Experiences from Digital Archive Development
Rachabodin Suwannakanthi
 
PPT
Austmine
Isaac A S Silva
 
PPTX
Chat Multitasking Presentation
Tim Jones
 
PDF
VietRees_Newsletter_54_Tuan4_Thang10
internationalvr
 
PDF
VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04
internationalvr
 
Striking a Balance: Middle Ground in Front-End Development
Nathan Smith
 
Minimal reason to learn Perl
Sanjeev Kumar Jaiswal
 
8. Social 2.0 Would U Like To Add Me Rudi Leung
HKAIM
 
Om Max Power Of Having A Spritual Friend 1
Bryan Sumendap
 
12. Social 2.0 Mobile Social Networking Jason Chiu
HKAIM
 
Mixbook
dboling
 
e-Museum of Wat Makutkasattriyaram
Rachabodin Suwannakanthi
 
Bittorrent Seminar Report by Shyam Prakash
Sanjeev Kumar Jaiswal
 
Juliuss Story So Far Bens
guest898b1e
 
Creating Panoramic Images with Adobe Photoshop Lightroom and Adobe Photoshop
Rachabodin Suwannakanthi
 
The Mall
dboling
 
Basics of GnuPG (gpg) command in linux
Sanjeev Kumar Jaiswal
 
Como cambiar en 30 dias
Juan Carlos Fernandez
 
Final Project
Vivianna Andrade
 
Experiences from Digital Archive Development
Rachabodin Suwannakanthi
 
Austmine
Isaac A S Silva
 
Chat Multitasking Presentation
Tim Jones
 
VietRees_Newsletter_54_Tuan4_Thang10
internationalvr
 
VietRees_Newsletter_26_Tuan2_Thang04
internationalvr
 
Ad

Similar to Technique to Delivery Information via the Internet (20)

PDF
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
thanapat yeekhaday
 
PDF
Ec 15
paween
 
PDF
อินเทอร์เน็ต5.1
Pp'dan Phuengkun
 
PDF
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
PDF
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Khonkaen University
 
PDF
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Ariya Soparux
 
PPT
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Yui Yui
 
PPT
suwicha
S_Panyakhai
 
PDF
56456456
TaiMe Sakdisri
 
PDF
Internet เบื้องต้น
ครูสุวีร์ดา ริจนา
 
PDF
work3-02
Mhew Suchanya
 
DOC
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
Sutin Yotyavilai
 
DOC
Internet
Sutin Yotyavilai
 
PDF
Social Network & Social Media for PR
Boonlert Aroonpiboon
 
PDF
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
Meaw Sukee
 
PPT
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
TuaLek Kitkoot
 
DOC
E commerce
Namfon Phenpit
 
PDF
It&communication_teeraset
Teeraset Siratananont
 
PDF
อินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
thanapat yeekhaday
 
Ec 15
paween
 
อินเทอร์เน็ต5.1
Pp'dan Phuengkun
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Khonkaen University
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Ariya Soparux
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Yui Yui
 
suwicha
S_Panyakhai
 
56456456
TaiMe Sakdisri
 
Internet เบื้องต้น
ครูสุวีร์ดา ริจนา
 
work3-02
Mhew Suchanya
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
Sutin Yotyavilai
 
Social Network & Social Media for PR
Boonlert Aroonpiboon
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
Meaw Sukee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
TuaLek Kitkoot
 
E commerce
Namfon Phenpit
 
It&communication_teeraset
Teeraset Siratananont
 
อินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
Ad

More from Rachabodin Suwannakanthi (20)

PDF
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Using copy.com website for uploading and sharing files
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Using copy.com app for uploading and sharing files
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Introduction to Digital Imaging
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Archives and Museum in Digital Age
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Camera RAW Workflow
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Images Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Archives and Digital Archives
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Online Video Format Experiment
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
How to Create an Educational Media
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Image Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Image Digitization with Scanning Technology
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Introduction to Images Digitization
Rachabodin Suwannakanthi
 
PDF
Digital Imaging Course Outline
Rachabodin Suwannakanthi
 
ระบบการถ่ายทอด รับชม และระบบคลังวิดีโอภายในภายในองค์กร
Rachabodin Suwannakanthi
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
Rachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com website for uploading and sharing files
Rachabodin Suwannakanthi
 
Using copy.com app for uploading and sharing files
Rachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Digital Imaging
Rachabodin Suwannakanthi
 
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
Rachabodin Suwannakanthi
 
พิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum)
Rachabodin Suwannakanthi
 
Archives and Museum in Digital Age
Rachabodin Suwannakanthi
 
Camera RAW Workflow
Rachabodin Suwannakanthi
 
Images Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
Archives and Digital Archives
Rachabodin Suwannakanthi
 
Creating HDR images with Photomatix and Lightroom
Rachabodin Suwannakanthi
 
HDR Processing with Adobe Photoshop CS4 and Adobe photoshop Lightroom
Rachabodin Suwannakanthi
 
Online Video Format Experiment
Rachabodin Suwannakanthi
 
How to Create an Educational Media
Rachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Educational Media Production
Rachabodin Suwannakanthi
 
Image Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
Image Digitization with Scanning Technology
Rachabodin Suwannakanthi
 
Introduction to Images Digitization
Rachabodin Suwannakanthi
 
Digital Imaging Course Outline
Rachabodin Suwannakanthi
 

Technique to Delivery Information via the Internet

  • 1. เทคนิคการเผยแพรและถายทอดขอมูล ทางอินเทอรเน็ต โดย นายราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ
  • 2. หัวขอการบรรยาย พื้นฐานการพัฒนาขอมูลบนระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต การพัฒนาขอมูลบนอินเทอรเน็ตเพือการคา ่ การพัฒนาขอมูลบนอินเทอรเน็ตเพือการศึกษา ่
  • 3. พื้นฐานการพัฒนาขอมูลบนระบบ เครือขายอินเทอรเน็ต
  • 4. ขั้นตอนการพัฒนาขอมูลบนระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต นําขอมูลเขาสูระบบ วางแผนการพัฒนา พัฒนาขอมูล อินเทอรเน็ต (Planning) (Development) (Transferring) รับขอคิดเห็น ประชาสัมพันธ (Comment & (Promotion) Sugesstion) ปรับปรุงขอมูล (Maintenance)
  • 5. ขั้นตอนการวางแผนการพัฒนา ตองการจะนําเสนอขอมูลอะไร? ขายอะไร? กลุมเปาหมายคือใคร?  จะมีขอมูล หรือสินคา หรือบริการอะไรบาง? จะนําเสนออยางไร? มีงบประมาณเทาไหร? ใครเปนผูทา? ํ
  • 6. การพัฒนาขอมูล ทําเองหรือจางคนอื่นทํา? มีขอมูลอะไรบาง? จะนําเสนอแคไหน? รูปแบบ  ไหน? เปนแบบ Static หรือ Dynamic มีการเขียนโปรแกรมหรือไม? มีระบบซือขายผานระบบอินเทอรเน็ตหรือไม? ้ จะใชเครื่องมืออะไรในการพัฒนา
  • 7. เครื่องมือที่ใชในการพัฒนาขอมูล Web Authoring Tools (Text Editor, Dreamweaver, Frontpage, NetObject Fusion) Web Animation (Macromedia Flash) Graphic (Adobe Photoshop, Paint Shop Pro, CorelDraw)
  • 8. ภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรมบนเว็บ PHP (Windows & UNIX) Perl (Windows & UNIX) JAVA (Windows & UNIX) ASP (Windows) JSP (UNIX)
  • 9. การนําขอมูลเขาสูระบบอินเทอรเน็ต พัฒนาขอมูลบนเครื่องพัฒนา ในแบบออฟไลน นําขอมูลที่พฒนาขึ้นมา เขาสูระบบอินเทอรเน็ต ั โดยใชโปรแกรมประเภท FTP (File Transfer Program)
  • 10. การประชาสัมพันธ แบบออฟไลน เปาหมายคือพยายามให URL ของเว็บไซตติดตากลุมเปาหมาย หรือลูกคา  ใหมๆ อยูตลอด แบบออนไลน เชน การแลกแบนเนอร, การ ลงทะเบียนในเว็บคนหาขอมูล (Search Engine) การใชอีเมลลในการประชาสัมพันธ
  • 11. การรับขอคิดเห็น มีอีเมลลหรือเบอรโทรศัพทติดตอ หรือทีอยูใน ่  เว็บเพจ จัดทําแบบฟอรมรับขอคิดเห็น มีระบบ www-Board สําหรับการรับขอคิดเห็น หรือการตอบปญหา หรือแนะนําบริการตางๆ ทํา Poll หรือแบบสอบถามเกียวกับสินคาและ ่ บริการ
  • 12. การปรับปรุงขอมูล เมือมีขอคิดเห็นเขามาสิ่งที่ตองทําคือ การตอบ ่  รับขอคิดเห็นนั้น แลวกลับมาวิเคราะหวาควรจะ ปรับปรุงแกไขอยางไร ใครเปนผูปรับปรุงขอมูล? หลังจากทําการปรับปรุงขอมูลเรียบรอยแลว จะตองมีการแจงกลับไปใหผูที่สงขอคิดเห็น ทราบ และประกาศ หรือประชาสัมพันธ บริการ ใหมๆ ตอไป
  • 13. สิ่งที่ตองมีเมื่อคิดจะทําเว็บ  อุปกรณ เครื่องคอมพิวเตอรที่เปนเซอรเวอร เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในการพัฒนาขอมูล คน ผูพัฒนาขอมูลหรือดูแลเว็บ (Webmaster) ผูดูแลระบบ (System Administrator) ซอฟตแวร สําหรับเซอรเวอร สําหรับใชในการพัฒนาเว็บ
  • 14. คาใชจายสําหรับการพัฒนาเว็บ คาเชาพื้นที่เว็บไซต (Web Hosting) คาอุปกรณและซอฟตแวรที่ตองใช คาเชาโดเมนเนม คาจางผูพฒนาขอมูล และผูดูแลระบบ ั
  • 16. พาณิชยอิเล็กทรอนิกสคืออะไร ถาจะกลาวกันสั้นๆ ก็คอการทํา ”การคา” ผาน ื ทางระบบอิเล็กทรอนิกส นั่นเอง โดยคําวาสื่อ อิเล็กทรอนิกสนั้นจะครอบคลุมตั้งแต ระดับ เทคโนโลยีพื้นฐาน อาทิ โทรศัพท โทรสาร โทรทัศน ไปจนถึงเทคโนโลยีทมความซับซอน ี่ ี กวานี้ แตวาในปจจุบนสื่อที่เปนที่ นิยมและมี ั ความแพรหลายในการใชงานคือ อินเทอรเน็ต
  • 17. อะไรคือ e-Business? e-Business คือ การดําเนินกิจกรรมทาง “ธุรกิจ” ตางๆ ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส การใช คอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และอินเทอรเน็ต เพือทําใหกระบวนการทาง ่ ธุรกิจทีมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความตองการ ่ ของคูคา ลูกคาใหตรงใจ รวดเร็ว เพือลดตนทุน ่ ขยายโอกาสทางการคา และการบริการ เมือเขา ่ สูยุคดิจทลิ ั
  • 18. รูปแบบของการทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ผูประกอบการ กับ ผูบริโภค (Business to Consumer - B2C) ผูประกอบการ กับ ผูประกอบการ (Business to Business – B2B) ผูบริโภค กับ ผูบริโภค (Consumer to Consumer - C2C) ผูประกอบการ กับ ภาครัฐ (Business to Government – B2G) ภาครัฐ กับ ประชาชน (Government to Consumer -G2C)
  • 19. ผูประกอบการ กับ ผูบริโภค  ผูประกอบการ กับ ผูบริโภค (Business to Consumer - B2C) คือ การคาระหวางผูคา โดยตรงถึงลูกคาซึ่งก็คอผูบริโภค เชน การขาย ื  หนังสือ ขายวีดีโอ ขายซีดีเพลง เปนตน
  • 20. ผูประกอบการ กับ ผูประกอบการ  ผูประกอบการ กับ ผูประกอบการ (Business to Business – B2B) คือ การคาระหวางผูคากับลูกคาเชนกัน แตในทีนี้ ่ ลูกคาจะเปนในรูปแบบของผูประกอบการ ซึงจะ ่ ครอบคลุมถึงเรื่อง การขายสง การทําการสั่งซือ ้ สินคาผานทางระบบอิเล็กทรอนิกส ระบบหวงโซ การผลิต (Supply Chain Management) เปน ตน ซึ่งจะมีความซับซอนในระดับตางๆกันไป
  • 21. ผูบริโภค กับ ผูบริโภค ผูบริโภค กับ ผูบริโภค (Consumer to Consumer - C2C) คือ การติดตอระหวาง ผูบริโภคกับผูบริโภค ซึ่งจะมีหลายรูปแบบ และ หลายวัตถุประสงค เชน เพือการติดตอ ่ แลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร ในกลุมคนทีมการ ่ ี บริโภคเหมือนกัน หรืออาจจะทําการแลกเปลี่ยน สินคากันเอง ขายของมือสองเปนตน
  • 22. ผูประกอบการ กับ ภาครัฐ ผูประกอบการ กับ ภาครัฐ (Business to Government – B2G) คือ การประกอบธุรกิจ ระหวางภาคเอกชนกับภาครัฐ ที่ใชกันมากก็คือเรืองการ ่ จัดซื้อจัดจางของภาครัฐ หรือทีเรียกวา eProcurement ่ ในประเทศที่มความกาวหนาดานพาณิชย ี อิเล็กทรอนิกสแลว รัฐบาลจะทําการซือ/จัดจางผาน ้ ระบบอิเล็กทรอนิกสเปนสวนใหญเพื่อประหยัด คาใชจาย เชนการประกาศจัดจางของภาครัฐใน เว็บไซต www.mahadthai.com หรือการใชงานระบบ อีดีไอในพีธีการศุลกากรของกรมศุลฯ www.customs.go.th
  • 23. ภาครัฐ กับ ประชาชน ภาครัฐ กับ ประชาชน (Government to Consumer -G2C) ในที่นี้คงไมใชวัตถุประสงคเพื่อ การคา แตจะเปนเรืองการบริการของภาครัฐผานสื่อ ่ อิเล็กทรอนิกส ซึงปจจุบันในประเทศไทยเองก็มี ่ ใหบริการแลวหลายหนวยงาน เชนการคํานวณและเสีย ภาษีผานอินเทอรเน็ต, การใหบริการขอมูลประชาชน ผานอินเทอรเน็ต เปนตน เชนขอมูลการติดตอการทํา ทะเบียนตางๆของกระทรวงมหาดไทย ประชาชน สามารถเขาไปตรวจสอบวาตองใชหลักฐานอะไรบางใน การทําเรืองนันๆ และสามารถดาวนโหลดแบบฟอรม ่ ้ บางอยางจากบนเว็บไซตไดดวย
  • 24. ประโยชนของพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ประหยัดคาใชจาย ลดคาใชจายบุคลากรบางสวน ลด ขั้นตอนการประกอบธุรกิจ ประหยัดคาใชจายในการ ติดตอแบบเดิมๆ ไมมขอจํากัดดานสถานที่ สามารถเขาถึงลูกคาไดทั่ว ี โลก (หมายความวาตองสรางเว็บไซตใหมีขอมูลเปน  ภาษาสากลหรือภาษาทีกลุมลูกคาเปาหมายของเราใช ่  มากๆ เชนภาษาจีน ญีปุน เปนตน) ่ ไมมขอจํากัดดานเวลา สามารถทําการคาได 24 ี ชั่วโมง 7 วัน ผานระบบอัตโนมัติ
  • 26. ประโยชนสําหรับผูซอ/ผูบริโภค  ื้ หาขอมูลเพื่อเปรียบเทียบเรื่องราคา คุณภาพสินคาและขอมูล อืนๆเพื่อประกอบการตัดสินใจซือ ่ ้ อินเทอรเน็ตมีประโยชนมากในเรืองนี้ สามารถเขาไปในเว็บบอรด ่ ตางในการหาขอมูลไดงาย มีรานคาใหเลือกมากขึ้น เพียงแคพิมพคียเวิรดลงในเครืองมือคนหาก็มีสินคาออกมาให  ่ เลือกมากมาย ไดรับสินคาอยางรวดเร็ว ในกรณีทซื้อสินคาที่จับตองไมได ี่ เพราะสามารถไดรับสินคาผานทางอินเทอรเน็ตไดเลย สินคาบางอยางสามารถลดพอคาคนกลางได ทําใหไดราคาทีถก ่ ู ลง คงไมใชกับทุกสินคาหรือทุกผูผลิตทีมีความตองการมาทํา  ่ การขายเอง อาจจะไดกับสินคาบางชนิด
  • 27. ประโยชนสาหรับผูผลิตและผูขาย ํ ลดความผิดพลาดในการสื่อสาร จากเดิมทีในการคาตองสง ่ แฟกซ หรือบางทีบอกจดทางโทรศัพท รับใบคําสั่งซื้อแลวมาคีย เขาระบบ ถาสามารถทําการติดตอกันผานสื่ออิเล็กทรอนิกส สง ขอมูลกันไดเลยจะชวยลดความผิดพลาดในสวนนีไปได้ ลดเวลาในการผลิต นําเอาเทคโนโลยีมาชวยในการคํานวณเรื่อง ความตองการวัตถุดิบ การทําคําสังซื้อวัตถุดบ ่ ิ เพิ่มประสิทธิภาพในระบบสํานักงานสวนหลัง เปดตลาดใหม หาคูคา ซัพพลายเออรรายใหม เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินคาคงคลัง เพิ่มความสัมพันธกับคูคาใหดีขึ้น สรางมูลคาเพิ่มใหกับเว็บไซตของบริษท โดยการสรางขอมูลที่ ั เปนประโยชนตอลูกคา การใหบริการหลังการขายใหคําปรึกษา  เรื่องผลิตภัณฑ หรือการแกไขเบื้องตนอยางรวดเร็ว
  • 29. การหาขอมูล/การโฆษณาประชาสัมพันธ (Searching & Advertising) วัตถุประสงคเบื้องตนในการทําเว็บไซตก็คอ การใหขอมูล ื ขาวสาร ทีตองการสื่อสารไปยังผูรับสาร ดังนันในฝงของผูสงสาร ่  ้ การทีจะสื่อสารใหไดประสิทธิภาพ คือ การสรางขอมูลใหมี ่ คุณภาพ สามารถสืบคนไดงาย อานแลวเขาใจงาย คือหัวใจ สําคัญ แตวาในโลกอินเทอรเน็ตนันมีขอมูลอยูมากมาย ทํา ้ อยางไรใหสามารถสื่อสารถึงกลุมผูรับทีตองการไดอยางมี  ่ ประสิทธิภาพทีสุด สวนผูรบสารก็ตองการความสะดวกในการรับ ่  ั สารทีตองการ สามารถไดสารมาโดยงาย และตองมีความเขาใจ ่ และตัดสินใจในการรับสารนันในเบื้องตน เพราะฉะนันในขันตอน ้ ้ ้ แรกนีคือลูกคาจะเขามาทําการสืบคนหาขอมูลสินคาใน ้ อินเทอรเน็ตหรืออาจจะชองทางอื่นๆ แลวแตความสะดวก เพื่อ ประกอบการตัดสินใจในการที่จะซื้อหรือไมซื้อสินคาตอไป
  • 30. การทําธุรกรรม (Transaction) จะเริ่มตั้งแตการทําคําสั่งซือ การชําระเงินคา ้ สินคา ไปจนการจัดสงสินคา
  • 31. การทําคําสั่งซื้อ (Ordering) เมือไดขอมูลเพียงพอและตองการจะทําการซือ ่ ้ สินคาหรือจะทําธุรกรรมกันแลว ในฝงผูขายตอง  มีระบบทีมประสิทธิภาพรองรับอยู ไมวาจะเปน ่ ี  ระบบตะกราสินคา (Shopping Carts) ทีอานวย ่ ํ ความสะดวกใหผูใช เชนแสดงรายละเอียดที่ดู ไดงายวาไดทําการเลือกสินคาใดๆไวบางแลวใน  ตะกรา รวมแลวคาสินคาเปนเทาไร ภาษีคา จัดสงตางๆ ควรแสดงใหเห็นดวย และตอง สามารถใหลูกคาสามารถเก็บขอมูลรายการ สินคาไวไดในชวงระยะเวลาหนึ่งเพือทําการ ่ สั่งซือภายหลัง ้
  • 32. ระบบการชําระเงิน (Payment Systems) ในการพิจารณาเรื่องวิธการชําระเงินนั้น ให ี พิจารณาถึงกลุมลูกคาวาเปนใคร เชนเปนลูกคา ภายในประเทศ กลุมวัยรุน วัยทํางาน หรือกลุมที่   อยูตางจังหวัด วิธทสะดวกจะมีใหเลือกหลายวิธี  ี ี่ ทั้งธนาณัติ การโอนเงินทางธนาคาร โอนเงิน ผานตูเอทีเอ็ม จายเงินผานบัตรเครดิต
  • 33. องคประกอบในการชําระเงิน ลูกคา(Customer) รานคา(Merchant) ธนาคารที่รานคาเปดบัญชีไว (Acquiring Bank) ธนาคารผูออกบัตร (Issuing Bank)
  • 35. การจัดสงสินคา สินคาจะมี 2 รูปแบบคือ สินคาทีจบตองได (Tangible ่ั Goods) และสินคาที่จบตองไมได (Intangible Goods) ั ดังนั้นการจัดสงจึงมี 2 รูปแบบคือ สงโดยผานผูใหบริการสําหรับสินคา ที่จบตองได เชนเดียวกันในการจัดสงตองมีวิธีใหลูกคาใหเลือกไดหลาย ั วิธีตามตองการเชนกัน สงพัสดุตามปกติ สง EMS สงผานผู ใหบริการรับสงสินคา (Courier) เชนเดียวกันตองมีใหเลือกทังแบบ ้ สงปกติ สงดวน สงดวนพิเศษ ตามความตองการของลูกคา สวนสินคา ที่จบตองไมไดนั้นการจัดสงจะทําการสงผานทางสื่ออิเล็กทรอนิกสได ั เลย เชนดาวนโหลดเพลง ซื้อขอมูล การเปนสมาชิกดูขอมูลของ เว็บไซตตางๆ เปนตน
  • 41. E-Learning คืออะไร? E-Learning = Electronics + Learning E-Learning คือ การใชเทคโนโลยีทางดาน อิเล็กทรอนิกส เพือการเผยแพร, สนับสนุน หรือ ่ เพิ่มประสิทธิภาพของกิจกรรมทางการศึกษา การเรียนการสอน หรือการเรียนรู
  • 42. สวนประกอบของ E-Learning เนื้อหา ในระบบ E-Learning สามารถนําเสนอ เนื้อหาไดหลายประเภท เชน ตัวอักษร, รูปภาพ, เสียง, วิดีโอ หรือแอนิเมชั่น ระบบจัดการการเรียนการสอน (Learning Management System) บุคลากรที่เกียวของกับระบบ เชน ผูเรียน, ่ ผูสอนหรือผูพฒนาเนื้อหา และผูดูแลระบบ ั
  • 43. สิงสําคัญของระบบ E-Learning ่ การพัฒนาเนื้อหา (Content Development) ระบบจัดการการเรียนการสอน (Learning Management System) มาตรฐานของ E-Learning (E-Learning Standard)
  • 44. การพัฒนาเนื้อหา (Content Development) ใชกระบวนการของ Instructional Design (ID) ในการออกแบบและพัฒนาเนื้อหาทีมี ่ ประสิทธิภาพ ตรงกับความตองการ และอยูใน  รูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย  กระบวนการ Instructional Design มีพนฐานมา ื้ จากทฤษฎีการเรียนรู เพือใหกลุมเปาหมาย ่ ไดรับผลตามวัตถุประสงคการเรียนรูที่ไดตั้งไว 
  • 45. สวนประกอบสําคัญของ Instructional Design วัตถุประสงคของการเรียน (Objectives) ผูเรียน (Learners) วิธการเรียนการสอน (Methods) ี การประเมินผล (Evaluation)
  • 46. ขั้นตอนในการพัฒนาเนือหา ้ การวางแผนการพัฒนาเนื้อหา (Content Planning) การพัฒนาเนื้อหา (Content Development) การประเมินผลเนื้อหา (Content Evaluation) การเผยแพรเนื้อหา (Content Delivery)
  • 47. ใครเปนผูพฒนาเนือหา ั ้ Instructional Designer Instructor Subject Matter Expert (SME) Media Production Specialist, Graphic Artist, Script Writer, Video & Still Image Production, Network or System Administrator
  • 48. อะไรคือระบบบริหารจัดการการเรียน (Learning Management System) ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอนคือ ระบบที่ เปนสื่อกลางในการติดตอสื่อสารระหวางบุคคล ตางๆ ทีเกียวของกับตัวระบบ ่ ่ ระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน จะมี เครื่องมืออํานวยความสะดวกใหกบบุคคลที่ ั เกียวของใหสามารถใชงานระบบไดงาย และ ่ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
  • 49. ระบบ LMS ทําอะไร? บริการจัดการสื่อการเรียนรู (Learning Material) หรือบริหารจัดการคลังความรู (Knowledge Management) จัดเก็บสถิติการใชงานและสนับสนุนการสราง รายงานการใชงานระบบ อํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสารระหวาง แตละบุคคลในระบบ
  • 50. ผังระบบบริหารจัดการการเรียนการสอน ผูเรียน (Learners) ระบบบริหารจัดการการเรียน คลังขอมูลเนื้อหา ผูสอน หรือ (Learning Management (Teachers) คลังความรู System) ผูจัดการระบบ (Administrator)
  • 51. ทําไมตองมีมาตรฐานของ E-Learning ? เพือใหสามารถพัฒนาระบบ E-Learning ไดไม ่ จํากัดแพลตฟอรม เพือใหสามารถแลกเปลี่ยนขอมูล หรือเกิดการ ่ ใชขอมูลรวมกันในสถานศึกษา หรือระหวาง สถาบันการศึกษาได เพือใหสามารถใชงานระบบไดทั้งใน ่ สถาบันการศึกษา และในระดับภายนอก
  • 52. องคกรที่ทําการพัฒนามาตรฐานของ E-Learning Aviation Industry CBT Committee (AICC, www.aicc.org) IMS Global Consortium Inc. (IMS. www.imsproject.org) Advanced Distributed Learning, SCORM (ADL, www.adlnet.org)
  • 53. องคกรที่ทําการพัฒนามาตรฐานของ E-Learning (ตอ) IEEE Learning Technology Standard Committee (IEEE LTSC, ltsc.ieee.org) IT for Learning Education and Training (ISO/IEC JTC1 SC36)
  • 57. เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับ E-Learning Web Authoring Web Programming Database Management System Graphic Design Animation Streaming Media
  • 58. Streaming Video คืออะไร? Streaming Video คือ เทคนิคในการเขาถึงสื่อวิดีโอ ทั้งในแบบ real-time หรือ on-demand ผานระบบ เครือขายอินเทอรเน็ต หรือระบบเครือขายอินทราเน็ต สื่อวิดีโอทีเปน Streaming Video นี้จะถูกสงผานไปใน ่ ระบบเครือขาย โดยอาศัยเครืองคอมพิวเตอรททํา ่ ี่ หนาทีเปน Media Server หรือ Video Server ซึงผูชม ่ ่ จะสามารถเขาถึงสื่อวิดีโอชนิดนี้ไดโดยใชเครื่อง คอมพิวเตอรที่ตออยูกบเครือขายอินเทอรเน็ตหรือ ั อินทราเน็ต โดยอาศัยโปรแกรม Web Browser
  • 59. รูปแบบการทํางานของ Streaming Media Web Server ผูเขาชม (Visitors) INTERNET Media Server (Video Server)
  • 60. อุปกรณที่ตองใชในการทํา Streaming Video กลองวิดีโอหรือสือบันทึกวิดีโอในรูปแบบตางๆ ่ เครืองคอมพิวเตอรททําหนาที่ในการตัดตอวิดีโอ ่ ี่ ซอฟตแวรที่ใชในการตัดตอวิดีโอ และซอฟตแวรที่ใช ในการแปลงสัญญาณใหอยูในรูปแบบ Streaming Video เครืองคอมพิวเตอรททําหนาทีเปน Web Server และ ่ ี่ ่ Media Server ซอฟตแวรที่ใชในการใหบริการ Streaming Video เชน Real Server (Helix Universal Server) หรือ Windows Media Server
  • 62. ชนิดของ Streaming Video ในปจจุบนสื่อวิดีโอที่นยมใชในระบบเครือขาย ั ิ อินเทอรเน็ตมีอยูดวยกันสามชนิดคือ Real Video (จาก Real Networks) Windows Media Video (จาก Microsoft) QuickTime Video (จาก Apple)
  • 63. ขั้นตอนในการทํา Streaming Video ขั้นตอนในการทํา Streaming Video จะเหมือนขันตอน้ ในการผลิตสื่อวิดีโอในแบบปกติ แตกตางกันเฉพาะใน สวนของการนําสัญญาณออก (Exporting) ซึ่งจะตอง ใชซอฟตแวรในการแปลงสัญญาณวิดีโอที่ไดใหเปน Streaming Video เชน โปรแกรม Real Publisher (Helix Publisher) สําหรับการแปลงสื่อใหอยูใน รูปแบบ real format หรือโปรแกรม Windows Media Encoder สําหรับการแปลงสื่อใหอยูในรูปแบบ Windows Media format เปนตน
  • 64. ขั้นตอนในการทํา Streaming Video (ตอ) Shooting Digitizing Editing Real Media Exporting Windows Media Quicktime